เอาจิตอยู่กับลมอยู่กับกาย ข้อปฏิบัติเนื้อร้ายพระพุทธศาสนาไม่ใช่อานาปานสติ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 26 ก.ย. 2024

ความคิดเห็น • 286

  • @paderm
    @paderm  9 หลายเดือนก่อน +21

    เอาจิตอยู่กับลม เอาจิตอยู่กับกาย คำแต่งใหม่ไม่มีในพุทธวจนและอธิบายอานาปานสติผิดจึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน
    ปฏิเสธอรรกถาเป็นคำแต่งใหม่ คำที่ตนเองยกพุทธวจนแล้วอธิบายเพิ่มก็คือคำแต่งใหม่เช่นกัน
    ถ้าจะอ้างว่าเอาแต่พุทธวจนทั้งหมด คำอรรถกถาอธิบาย ไม่ใช่พุทธวจน เป็นคำแต่งใหม่ เช่นนั้นแล้ว คำของตนเองที่ยกพุทธวจนแล้วอธิบายออกมา เช่น ยก สติปัฏฐานสูตร หน้านั้น เล่มนี้ ฉบับนี้ แล้วตนเองก็อธิบายเป็นภาษาไทย ให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ คำที่ตนเองอธิบาย นั่นก็คือ ไม่ใช่พุทธวจน เป็นอรรถกถาจารย์เช่นกัน เพราะเป็นคำที่ไม่มีในพระไตรปิฎก เล่มนั้นเล่มนี้ ถ้าจะให้ถูกตามที่ไม่เอาอรรถกถาจารย์ ก็คือ ห้ามพูดต่ออะไรเลย ยกพุทธวจนล้วนๆ นั่นแหละครับ ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม ดังนั้นตนเองก็อธิบายเพิ่มเติม หลังจากยกพุทธวจน ที่ไม่ตรงเป๊ะตามพระไตรปิฎกเช่นกัน นี่คือการเปรียบเทียบให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว คำใดก็ตาม ที่อธิบายโดยภาษาไหน อย่างไร แต่อธิบายความหมายได้ตรงตามคำพระพุทธเจ้า นั่นก็ชื่อว่าคำพระพุทธเจ้า ดังเช่น ในอรณวิภังคสูตร บางประเทศ คำว่า ภาวขนะ ใช้คำนี้ บางประเทศ ภาชนะใช้คำนี้ แต่ภาษาใด คำใดก็ตาม ที่อธิบายให้เข้าใจถึงความจริงของธรรม นั่นเป็นคำพระพุทธเจ้าครับ แต่เอาจิตอยู่กับลมเป็นการเลือกลืมอนัตตา ไม่มีปัญญารู้ความจริง จึงเป็นการยกคำแต่งใหม่และอธิบายผิดด้วย(เป็นสาวกภาษิต) ตรงกันข้ามกับ อรรถกถาจารย์ฺที่อธิบายเพิ่มขยายความในพุทธวจน โดยสอดคล้องกับอนัตตา จึงเป็นคำพระพุทธเจ้า ไม่ใช่สาวกภาษิตนั่นเองครับ
    อรณวิภังคสูตร
    [๖๖๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญเสีย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่าปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หนะ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดปรักปรำโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะนั้นกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ ตามกำลังและความแน่ใจว่า นี้เท่านั้นจริง อื่นเปล่าอย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า
    หนะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ อย่างไม่ใช่ความแน่ใจว่า เป็นอันท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พูดแก่ข้าพเจ้าหมายถึงภาชนะนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญ นั่นเราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ

    • @dhamma98
      @dhamma98 9 หลายเดือนก่อน +3

      ขออนุญาตสอบถามครับ ถ้าบอกว่า เอาจิตอยู่กับกาย หรือ เอาจิตอยู่กับลม อธิบายอานาปานสติผิด แล้วจะมีวิธีตรวจสอบอย่างไรว่าใครอธิบายถูกครับ เช่น อาจารย์เองที่อธิบาย อานาปานสติ ในคลิปนี้ ตอน นาทีที่8.51 ก็อาจจะอธิบายผิดก็ได้ แล้วจะตรวจสอบอย่างไรดีครับ จะเชื่อใครดี เพราะต่างคนก็อาจจะคิดว่าตนเองเข้าใจและบอกต่อถูกครับ 🙏

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      @@dhamma98 ตรงตามพระพุทธพจน์อื่นหรือไม่ ถ้าไม่สอดคล้องกับพระพุทธพจน์อื่น คือ ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา นั่นคือผิด แต่ถ้าอธิบายสอดคล้องกับธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา ก็คือถูกเพราะแสดงถึงความจริงว่า อานาปานสติหรือสติปัฏฐานไม่ว่าหมวดไหน ก็คือสติและปัญญาที่รู้ความเป็นธรรมที่เป็นอนัตตานั่นเอง ดังนั้นผู้ฟังไม่ดี ฟังคำที่อธิบายผิดแต่ยกพุทธวจนอธิบายผิด ย่อมปฏิเสธทางถูกและไม่รู้ว่าสิ่งที่กล่าวนั้นผิดขัดแย้งอนัตตา แต่ผู้ที่เข้าใจถูกสะสมปัญญาย่อมสามารถอธิบายได้ว่า ถูก ถูกยังไงและผิดๆยังไงนั่นเองครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      @@dhamma98 และขอให้ทบทวนในประเด็นนี้ด้วยครับ
      ปฏิเสธอรรกถาเป็นคำแต่งใหม่ คำที่ตนเองยกพุทธวจนแล้วอธิบายเพิ่มก็คือคำแต่งใหม่เช่นกัน
      ถ้าจะอ้างว่าเอาแต่พุทธวจนทั้งหมด คำอรรถกถาอธิบาย ไม่ใช่พุทธวจน เป็นคำแต่งใหม่ เช่นนั้นแล้ว คำของตนเองที่ยกพุทธวจนแล้วอธิบายออกมา เช่น ยก สติปัฏฐานสูตร หน้านั้น เล่มนี้ ฉบับนี้ แล้วตนเองก็อธิบายเป็นภาษาไทย ให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ คำที่ตนเองอธิบาย นั่นก็คือ ไม่ใช่พุทธวจน เป็นอรรถกถาจารย์เช่นกัน เพราะเป็นคำที่ไม่มีในพระไตรปิฎก เล่มนั้นเล่มนี้ ถ้าจะให้ถูกตามที่ไม่เอาอรรถกถาจารย์ ก็คือ ห้ามพูดต่ออะไรเลย ยกพุทธวจนล้วนๆ นั่นแหละครับ ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม ดังนั้นตนเองก็อธิบายเพิ่มเติม หลังจากยกพุทธวจน ที่ไม่ตรงเป๊ะตามพระไตรปิฎกเช่นกัน นี่คือการเปรียบเทียบให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว คำใดก็ตาม ที่อธิบายโดยภาษาไหน อย่างไร แต่อธิบายความหมายได้ตรงตามคำพระพุทธเจ้า นั่นก็ชื่อว่าคำพระพุทธเจ้า ดังเช่น ในอรณวิภังคสูตร บางประเทศ คำว่า ภาวขนะ ใช้คำนี้ บางประเทศ ภาชนะใช้คำนี้ แต่ภาษาใด คำใดก็ตาม ที่อธิบายให้เข้าใจถึงความจริงของธรรม นั่นเป็นคำพระพุทธเจ้าครับ แต่เอาจิตอยู่กับลมเป็นการเลือกลืมอนัตตา ไม่มีปัญญารู้ความจริง จึงเป็นการยกคำแต่งใหม่และอธิบายผิดด้วย(เป็นสาวกภาษิต) ตรงกันข้ามกับ อรรถกถาจารย์ฺที่อธิบายเพิ่มขยายความในพุทธวจน โดยสอดคล้องกับอนัตตา จึงเป็นคำพระพุทธเจ้า ไม่ใช่สาวกภาษิตนั่นเองครับ
      อรณวิภังคสูตร
      [๖๖๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญเสีย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่าปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หนะ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดปรักปรำโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะนั้นกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ ตามกำลังและความแน่ใจว่า นี้เท่านั้นจริง อื่นเปล่าอย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า
      หนะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ อย่างไม่ใช่ความแน่ใจว่า เป็นอันท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พูดแก่ข้าพเจ้าหมายถึงภาชนะนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญ นั่นเราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ

    • @dhamma98
      @dhamma98 9 หลายเดือนก่อน +1

      ​@@padermขอบคุณที่ชี้แนะครับ สาธุ อนุโมทามิ ในกุศลธรรม 🙏

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +4

      @@dhamma98 สาธุครับที่ตรงต่อพระธรรม ครับ รับฟังไปเรื่อยๆ จะเริ่มแยกออกว่าอะไรถูกผิดที่สำคัญ ความเห็นถูกเจริญขึ้นเรื่อยๆครับ

  • @nuttipakuentak9407
    @nuttipakuentak9407 หลายเดือนก่อน +2

    ขอถามอาจารย์ค่ะ เรื่องการละนันทิ ความเพลิน ความติดข้องในอารมณ์ คือการไม่เพลินปรุงแต่งความคิดหรืออารมณ์นั้นๆต่อใช่มั้ยคะ แล้วถ้าเราละแล้วจิตจะมาอยู่ที่ไหนคะถ้าไม่ใช่กาย นั่นคือสาเหตุที่ทำไมเราต้องมาอยู่กับกาย เพื่อไม่ให้เราหลงเพลินไปกับความคิด แต่ถ้ามีความคิดเกิดแล้วเราไปคิดว่านั่นคือสภาพธรรมะไม่ใช่เรา ก็คือเกิดความคิดซ้อนความคิด มันยังไม่ใช่ปัญญารู้จริงๆ แต่เป็นความคิดที่คิดว่าไม่ใช่เรา จริงๆการรู้จริงๆต้องไม่มีความคิดใช่มั้ยคะ ต้องรู้ว่าไม่ใช่เราแบบความรู้สึกใช่มั้ยคะ ไม่ใช่การคิดเอาว่าไม่ใช่เรา เรียนถามค่ะ

    • @paderm
      @paderm  หลายเดือนก่อน +2

      ปัญญามีหลายระดับครับ ขั้นฟัง คิด และภาวนารู้ลักษณะ ดังนั้นการคิดถูกมี เป็นปัญญาขั้นคิด ที่คิดถูกว่าเป็นธรรม ไม่ใช่เรา แต่ไปจดจ้องลม ไม่มีปัญญารู้อะไร นั่นคือ ไม่ใช่สติแต่เป็นโลภะ มีนันทิ ก็ไม่รู้ตัว ครับ จึงเป็นทางผืด ไม่ใช่แม้ปัญญาขั้นฟัง ขั้นคิด ไม่ต้องกล่าวถึง ว่าเป็นอานาปานสติเพราะเป็นโลภะ นันทิ นั่นเองครับ แต่เริ่มคิดถูกว่าเป็นธรรม มั่นคงไปเรื่อนๆนับชาริไม่ถ้วน ก็จะถึงปัญญาที่รู้ตรงลักษณะของธรรมที่เป็นสติปัฏฐาน ปัญญาขั้นภาวนาครับ

    • @nuttipakuentak9407
      @nuttipakuentak9407 หลายเดือนก่อน +1

      @@paderm การปฏิบัติในความหมายของอาจารย์คือในขณะปัจจุบันเมื่อมีอะไรเกิดขึ้นมาให้คิดว่านั่นเป็นสภาพธรรม ไม่ใช่เรา ใช่มั้ยคะ โดยที่ไม่ต้องไปทำอย่างอื่นเลย และไม่สามารถเลือกได้ว่าจะไปทำอะไร ปัญหาคือถ้าปล่อยให้จิตเลือกเอง จิตก็จะเลือกในสิ่งที่คุ้นเคยคือความคิดฟุ้งซ่าน จะหาหลักให้จิตไม่ได้

    • @nuttipakuentak9407
      @nuttipakuentak9407 หลายเดือนก่อน +2

      @@paderm คิดว่าการกระทำใดๆก็แล้วแต่ต้องเริ่มต้นจากความอยากก่อน การมาฟังธรรมได้ก็มาจากเหตุคือความอยากฟัง ถ้าไม่มีความอยากพ้นทุกข์เราก็ไม่มีทางเข้ามาสนใจธรรมะ เช่นเดียวกับการมารู้ลมรู้กาย สาเหตุที่ต้องมาฝึกรู้เพราะเป็นการสร้างความเคยชินให้จิตใหม่ ให้จิตคุ้นเคยกับการมารู้ลมรู้กาย แรกๆก็ต้องฝืน ฝึกบ่อยๆจนจิตเริ่มมารู้ได้เองโดยไม่ต้องบังคับ ให้จิตเคยชินมาอยู่กับลม ต่อไปจิตก็มาอยู่ได้เองโดยไม่ได้เลือกด้วยความเคยชิน ถ้าเราไม่ฝืดฝืนฝึกในครั้งแรก จิตก็จะมีความเคยชินไปอยู่กับความคิด ซึ่งความคิดหรือสังขารความปรุงแต่งนี้เป็นเหตุแห่งทุกข์

    • @paderm
      @paderm  หลายเดือนก่อน +1

      @@nuttipakuentak9407 ที่กล่าวมาไม่มีในคำสอนพระพุทธเจ้าไม่ใช่พุทธวจน นะครับ ทั้งเข้าใจสมาธิ สงบ ผิด ด้วยตามที่กล่าวมานั่นเองครับ

  • @ทํามาศรีทอง-ฬ4บ
    @ทํามาศรีทอง-ฬ4บ 9 หลายเดือนก่อน +8

    กราบอนุโมทนาสาธุค่ะ

  • @พัทธ์ธีราพลนะรัตน์
    @พัทธ์ธีราพลนะรัตน์ 9 หลายเดือนก่อน +2

    🙏🙏🙏 กราบอนุโมทนาในกุศลจิตมี่ดีงามค่ะ

  • @chartseeplee2517
    @chartseeplee2517 8 หลายเดือนก่อน +3

    สาธุๆ

  • @sitthirat
    @sitthirat 9 หลายเดือนก่อน +3

    กราบอนุโมทนาครับ

  • @ลมบก-ช4ฮ
    @ลมบก-ช4ฮ 8 หลายเดือนก่อน +3

    สาธุ​🙏

  • @sabbe.dhamma.anatta
    @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +18

    กราบอนุโมทนา ผู้ตั้งใจฟังเข้าใจย่อมได้ประโยชน์

  • @แหนะ...ครับ
    @แหนะ...ครับ 9 หลายเดือนก่อน +3

    สงบจากกิเลส เพิ่งเคยได้ยินแนวคิดนี้ แต่น่าขบคิด ฟังไปคิดตามไป ก็สมเหตุสมผลครับ

  • @ประสงค์โรจน์ดํารงรัตน์
    @ประสงค์โรจน์ดํารงรัตน์ 9 หลายเดือนก่อน +8

    ยินดีในกุศลทุกประการ
    กราบอนุโมทนาสาธุครับ

  • @ajsjsjsjjs1673
    @ajsjsjsjjs1673 9 หลายเดือนก่อน +9

    กราบขอบพระคุณและกราบอนุโมทนา สาธุค่ะ

  • @paderm
    @paderm  9 หลายเดือนก่อน +11

    เลือกรู้ลม(ไม่ใช่สติด้วย)ลืมอนัตตา บังคับไม่ได้ ไม่ใช่เราเลือก สติปัญญาเลือกรู้เอง
    หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ เนื้อหาสาระคลิปดังนี้
    00:41 สิ่งที่ผู้สนใจธรรมแต่ปฏิบัติผิด คือ ลืมปัญญารู้อะไร สมาธิคืออะไร ลืมอนัตตาบังคับไม่ได้
    02:47 เอาจิตอยู่กับลมกับกายให้นิ่งไม่คิดเรื่องอื่นเป็นสมาธิดีแล้ว ผิดที่เข้าใจสมาธิผิด
    03:43 จดจ่อกับสิ่งหนึ่งสิ่งใด ต้องการจดจ้องคืออกุศลฌาน พระพุทธเจ้าติเตียนไม่ใช่อานาปานสติ
    05:28 หนทางที่ถูกต้องคือฟังธรรมจนสติและปัญญาเกิดรู้ความจริงในขณะนี้โดยไม่ใช่เราเลือกเจาะจงอนัตตา
    06:26 เอาจิตอยู่กับลม นิ่ง แต่ไม่มีปัญญารู้ความจริงในขณะนี้ จึงเป็นโมหะไม่ใช่อานาปานสติ
    07:44 เอาการคิดนึกไปเป็นปัญญาขั้นภาวนามยปัญญาที่รู้ตรงลักษณะ จึงผิดไม่ใช่อานาปานสติ
    08:51 อานาปานสติที่ถูกต้องคือมีสภาพธรรมที่ไม่ใช่เราปรากฏตรงลักษณะกับสติปัญญา
    10:03 เข้าใจคำว่า สงบ ผิด คิดว่านิ่งจดจ่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด คือ ความสงบ เป็นสมาธิดี เข้าใจผิด
    13:34 เลือกเอาจิตรู้ลมรู้กายลืมธรรมเป็นอนัตตา ขัดแย้งกันเองกับคำพระพุทธเจ้า
    19:48 เลือกเอาเฉพาะบางพระสูตรแต่บอกให้ทุกคนควรทำอานาปานสติก็ผิดตั้งแต่ต้น

  • @วิษณุชานนท์
    @วิษณุชานนท์ 9 หลายเดือนก่อน +1

    สาธุ​ครับ​

  • @party_pla
    @party_pla 9 หลายเดือนก่อน +8

    ^^ ขอบพระคุณค่ะ อาจารย์

  • @chayanitsuklong255
    @chayanitsuklong255 9 หลายเดือนก่อน +6

    กราบอนุโมทนาในธรรมทานค่ะ👏👏👏

  • @raneeburingam7779
    @raneeburingam7779 9 หลายเดือนก่อน +5

    สาธุค่ะขอบคุณค่ะ

  • @ferry2022
    @ferry2022 9 หลายเดือนก่อน +6

    กราบโมทนาค่ะอาจารย์🙏

  • @paderm
    @paderm  9 หลายเดือนก่อน +15

    เนื้อหาควรฟังและแชร์ดังนี้
    00:41 สิ่งที่ผู้สนใจธรรมแต่ปฏิบัติผิด คือ ลืมปัญญารู้อะไร สมาธิคืออะไร ลืมอนัตตาบังคับไม่ได้
    02:47 เอาจิตอยู่กับลมกับกายให้นิ่งไม่คิดเรื่องอื่นเป็นสมาธิดีแล้ว ผิดที่เข้าใจสมาธิผิด
    03:43 จดจ่อกับสิ่งหนึ่งสิ่งใด ต้องการจดจ้องคืออกุศลฌาน พระพุทธเจ้าติเตียนไม่ใช่อานาปานสติ
    05:28 หนทางที่ถูกต้องคือฟังธรรมจนสติและปัญญาเกิดรู้ความจริงในขณะนี้โดยไม่ใช่เราเลือกเจาะจงอนัตตา
    06:26 เอาจิตอยู่กับลม นิ่ง แต่ไม่มีปัญญารู้ความจริงในขณะนี้ จึงเป็นโมหะไม่ใช่อานาปานสติ
    07:44 เอาการคิดนึกไปเป็นปัญญาขั้นภาวนามยปัญญาที่รู้ตรงลักษณะ จึงผิดไม่ใช่อานาปานสติ
    08:51 อานาปานสติที่ถูกต้องคือมีสภาพธรรมที่ไม่ใช่เราปรากฏตรงลักษณะกับสติปัญญา
    10:03 เข้าใจคำว่า สงบ ผิด คิดว่านิ่งจดจ่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด คือ ความสงบ เป็นสมาธิดี เข้าใจผิด
    13:34 เลือกเอาจิตรู้ลมรู้กายลืมธรรมเป็นอนัตตา ขัดแย้งกันเองกับคำพระพุทธเจ้า
    19:48 เลือกเอาเฉพาะบางพระสูตรแต่บอกให้ทุกคนควรทำอานาปานสติก็ผิดตั้งแต่ต้น
    ขออนุโมทนา

    • @TawadsakK.-wp7sq
      @TawadsakK.-wp7sq 9 หลายเดือนก่อน

      รบกวน ช่วยอธิบายขยายความให้มากกว่านี้ได้ไหมครับ ที่ว่าอานาปานสติที่ถูกต้อง คือ นาที8.51 ขอบคุณมากครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      @@TawadsakK.-wp7sq คลิปนี้ครับ th-cam.com/video/7BvYpOtBsS8/w-d-xo.htmlsi=YNekbsfMhi-zFXhw

    • @TawadsakK.-wp7sq
      @TawadsakK.-wp7sq 9 หลายเดือนก่อน

      ครับผม โดยส่วนตัวปฎิบัติอานาฯเช่นนี้ ถูกผิดแนะนำเพิ่มด้วยนะครับ กาย 1-2). รู้ลมยาว-สั้น โดยกำหนดว่ายาว-สั้น เท่าไหร่
      3).รู้และศึกษา มีปัญญา ว่าขณะหายใจออก-เข้าลมที่เป็นกายอันหนึ่งกับกายทั่วเป็นอย่างไร
      4).รู้และศึกษา มีปัญญา ว่าขณะเราทำ (บังคับ) ให้กายสังขารระงับเป็นอย่างไร
      วรรคท้ายกายคตาสติ เห็นกายลมและกายทั่ว ให้พิจารณา เพียรทำดังกล่าวคือเผากิเลส ให้ระลึกรู้ตัวอยู่และให้ระลึกรู้ว่ากำลังทำอะไร มีปัญญา ละอยาก โลภะ ละความยินร้าย โทมนัส ที่ธรรมกระทบกายนี้
      5). 4ได้ 5มาโดยธรรมครับ
      ผมเข้าถูก ผิดแนะนำด้วยครับผม.

    • @ณัฐพัฒน์โพธิ์ไทร-ฒ2ง
      @ณัฐพัฒน์โพธิ์ไทร-ฒ2ง 9 หลายเดือนก่อน +2

      อนุโมทนาบุญครับที่เผยแพร่ธรรม

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      @@TawadsakK.-wp7sq ผิดตั้งแต่ไปเลือกเจาะจงรู้ลม ลืมอนัตตา ครับ
      เลือกรู้ลม(ไม่ใช่สติด้วย)ลืมอนัตตา บังคับไม่ได้ ไม่ใช่เราเลือก สติปัญญาเลือกรู้เอง
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

  • @yaneenatchaownammong1690
    @yaneenatchaownammong1690 3 หลายเดือนก่อน +3

    มาฟังอีกค่ะ🌿🌿🌿🙏

  • @kun-uc1wl
    @kun-uc1wl 7 หลายเดือนก่อน +5

    สาธุครับอาจารย์ กระผมเองก็มีความสงสัยเรื่องนี้มานานแล้วว่า ทำไมมันง่ายดายและลัดสั้นขนาดนั้น. พอได้มาฟังอาจารย์แล้วกระจ่างขึ้นบ้าง

  • @burinburin5298
    @burinburin5298 3 หลายเดือนก่อน +3

    สาธุครับ

  • @จามจุรี2562
    @จามจุรี2562 9 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณมากครับ ผมจะนำไปพิจารณา และ คิด ถ้าสิ่งใดผิดจะละทิ้ง สิ่งใดที่ถูกผมจะเดินทางธรรมที่ถูกต้อง ต่อไป ให้ตรงกับมรรค 8เพื่อเกิดปัญญา ดับทุกข์ได้หมดสิ้น / ครับ.

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      สาธุเริ่มจากการฟังพระธรรมให้เข้าใจถูกว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตา คืออย่างไร นั่นคือเริ่มจาก สัมมาทิฏฐิ องค์แรกของมรรค คือความเห็นถูกเป็นสำคัญ ครับ

  • @พุดตาลตั้งเศรษฐเสถียร
    @พุดตาลตั้งเศรษฐเสถียร 5 หลายเดือนก่อน +2

    อนุโมทนาบุญด้วยค่ะอาจารย์ สาธุ

  • @phaengborduge6131
    @phaengborduge6131 9 หลายเดือนก่อน +5

    สาธุๆๆค่ะ

  • @oppoo-cs3tj
    @oppoo-cs3tj 9 หลายเดือนก่อน +3

    🙏 ขอบคุณค่ะอาจารย์
    ผู้น้อยกำลังตั้งใจฟัง
    ค่ะท่าน สาธุ ค่ะ

  • @dusitapamornsoot7045
    @dusitapamornsoot7045 9 หลายเดือนก่อน +6

    กราบ อนุโมทนา ค่ะ 🙏

  • @paderm
    @paderm  9 หลายเดือนก่อน +9

    จะละนันทิแต่เพิ่มกิเลสโลภะนันทิเพราะอยากในคำว่า ผลอานิสงส์มากและง่าย
    ต้องการผล อยากจะจะจดจ้อง เลือกอารมณ์(ลมหายใจ) คือ โลภะ ทางมาของกิเลส
    เพราะไม่รู้จักกิเลส จึงสำคัญว่าความอยากเป็นสิ่งที่ดี ก่อนศึกษาธรรมก็อยากพอใจในรูปเสียงกลิ่นรส และไม่รู้ตัวด้วยว่ากำลังมีความอยากขณะนี้ กำลังมีกิเลสก็ไม่รู้ พอศึกษาธรรมแล้ว ได้ฟังอ่าน ผลอานิสงส์อานาปานสติ ก็อยากได้ผล อยากพ้นจากกิเลส นั่นก็คือความอยาก แต่เปลี่ยนเป็นอยากดี อยากละกิเลส พระธรรมจึงเป็นเรื่องตรง อยากเป็นอยาก โลภะเป็นโลภะ เหมือนสมณพราหมณ์ผู้เห็นผิด อยากละสิ่งไม่ดี แต่หนทางที่ดำเนินนั้นผิด เพราะ ไม่มีความเข้าใจธรรมเป็นเบื้องต้นในความเป็นธรรม อนัตตา บังคับไม่ได้ จะทำสติ จะจดจ้องลมหายใจ ลืมว่า สติเป็นอนัตตา และสิ่งที่จะทำก็ไม่ใช่สติและปัญญาด้วย เพราะไม่มีปัญญารู้อะไร ได้แค่เพียงหายใจเข้าก็รู้ หายใจออกก็รู้ แล้วรู้ว่าเป็นธรรมไม่ใช่เราหรือไม่เ พราะถ้าไม่รู้แบบนี้ ก็ละกิเลส คือ ความยึดถือว่าเป็นเรา ความเห็นผิดที่พระโสดาบันต้องละก่อนไม่ได้ เพราะไม่มีปัญญาตั้งแต่ต้น ครับ

  • @สุพัตราตาพรศรี
    @สุพัตราตาพรศรี 9 หลายเดือนก่อน +3

    โมทนาสาธุบุญทุกประการค่ะ

  • @baorin
    @baorin 9 หลายเดือนก่อน +4

    ขอบคุณครับ🙏🙏🙏

  • @piyamitcont2006
    @piyamitcont2006 9 หลายเดือนก่อน +2

    ขอเรียนถามเกี่ยวกับ อานาปนสติ 16 ดังนี้
    - เป็นคำสอนของพระพุทธองค์ หรือไม่
    - ถ้าไม่เป็นแล้ว ครูบาอาจารย์ที่สอนอยู่ เอามาจากไหน
    - ถ้าเป็นในแต่ละข้อปฏิบัติอย่างไร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      ไม่มีในคำสอนในพระไตรปิฎกครับ ความไม่รู้ย่อมทำกิจแนะนำผิด ไม่เริ่มจากคำว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาเป็นอย่างไร สติคืออะไร ตามคำพระพุทธเจ้า จึงทำผิดและสอนผิดครับ

  • @thiphaburanaket5342
    @thiphaburanaket5342 9 หลายเดือนก่อน +3

    อนุโมทนาสาธุด้วยค่ะ ขอบพระคุณ ที่ได้ฟังธรรมะที่ถูกต้องจากอาจารย์ค่ะ

  • @choomnoomphonsittisorn9414
    @choomnoomphonsittisorn9414 9 หลายเดือนก่อน +5

    ขอบคุณมากครับ

  • @saleeyeesomboon1015
    @saleeyeesomboon1015 9 หลายเดือนก่อน +3

    อนุโมทนาค่ะ

  • @wslaw459
    @wslaw459 2 หลายเดือนก่อน +2

    อาจารย์ครับการที่จะหลุดพ้นจากการเวียนไหว้ตายเกิด เราควรจะเริ่มดับขันธ์5ตัวไหนก่อนครับ

    • @paderm
      @paderm  2 หลายเดือนก่อน +2

      เริ่มจากฟังให้เข้าใจก่อนว่าธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาเป็นอย่างไรครับ ฟังคลิปนี้ th-cam.com/video/KC_Px9kGsOg/w-d-xo.htmlsi=pVqenzPRQCXjT9Sz

  • @ละไมแสงหิรัญ
    @ละไมแสงหิรัญ 6 หลายเดือนก่อน +2

    ❤❤ชื่นชมชื่นชอบค่ะยินดีค่ะ❤❤

  • @SirisakDaensena-vq6oy
    @SirisakDaensena-vq6oy 9 หลายเดือนก่อน +5

    กราบอนุโมทนา

  • @wut9042
    @wut9042 9 หลายเดือนก่อน +3

    สมถะก็มีประโยชน์ของมัน
    เลือกใช้ให้เหมาะสม

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      ไม่ใช่ สมถะ ครับ เพราะทำด้วยควาไม่รู้และโลภะจดจ้องลม ครับ เราจึงเข้าใจคำว่า สมถะ ผิด สงบผิด และสมาธิผิดด้วยครับ เข้าใจใหม่ดังนี้ครับ
      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ(สมถะ) ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

  • @นพรัตน์เนื่องจํานงค์
    @นพรัตน์เนื่องจํานงค์ 3 หลายเดือนก่อน +1

    กายานุปัสสนา สติปัฏฐานา สติเป็นไปในกาย พิจารณาไปก็จะเกิดปัญา เข้าใจได้ว่า กายนี้ก็สักแต่ว่ากาย ไม่ใช่
    สัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา
    ปัญญาเกิดตามมาอย่างนี้ ไม่มีหรอก
    ที่พอลงนั่งปฏิบัติทำสมาธิ ปัญญาก็เกิด
    มีเลย ไม่ใช่หรอก พูดอยู่ว่าธรรมะเป็น
    อนัตตา แล้วจะมีตัวเราได้อย่างไร.

    • @paderm
      @paderm  3 หลายเดือนก่อน +1

      เลือกอารมณ์ที่จะรู้ก็ผิดตั้งแต่ต้นลืมความหมายของพระธรรมที่ว่าธรรมเป็นอนัตตา อนัตตาคือบังคับบัญชาไม่ได้ และที่ทำอยู่ก็ไม่ใช่สติแต่เป็นโลภะที่จดจ้องเลือกนั่นเอง จึงไม่ใช่การเจริญสติปัฏฐานแต่คิดผิดเองว่าปฏิบัติถูกอยู่นั่นเองครับ

  • @jiraporn038
    @jiraporn038 2 หลายเดือนก่อน +1

    มีช่อง1ที่บอกว่าเอาจิตไว้กับกายหรือลมหายใจ เพราะจะได้ไม่คิดอะไร ถ้าคิดไปแล้วคือจุดเกิกขแงวิญญาณค่ะ หนูชอบคิดหาคนตาย มันหลอนอยู่ในหัวเพราะหนูฝันถึงเขาก็เลยกลัว หลอนมาเลยค่ะ แต่หนูก็พยายามเอาจิตไว้กับลมเพื่อที่จะได้ไม่คิดไปต่างๆนาๆ เพร่ะกลัวได้ไปเกิดที่นั้น สรุปเราต้องเอาจิตไว้ที่ไหนคะ

    • @paderm
      @paderm  2 หลายเดือนก่อน +1

      ถ้าจะตั้งก็ลืมอนัตตา ทางผิดครับ

  • @paderm
    @paderm  9 หลายเดือนก่อน +9

    พุทธวจนไม่ผิด แต่ยกพุทธวจนแต่มาอธิบายผิด เป็นสาวกภาษิต คำเดียรถีย์
    ยกพุทธวจนแต่อธิบายผิด ก็คือ คำของอัญญดียรถีย์ไม่ใช่คำพระพุทธเจ้า
    ยกพุทธวจน มา แต่อธิบายผิด ก็เป็นการเข้าใจผิด ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา ไม่เข้าใจตั้งแต่ตรงนี้ ก็จะทำสติ จะเลือกอารมณ์ ไม่เข้าใจว่ามีแต่ธรรมตั้งแต่ต้น เป็นอนัตตา บังคับสติ ไม่ได้ ดังนั้น ยกพุทธวจนมา เช่น ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ไม่ศึกษาให้รอบคอบ ก็ คิดว่ามีตน มีตัวเรา นี่ก็คือ ยกพุทธวจน อธิบายผิด ดังนั้น หากจะเอาพุทธวจน คำอื่นเป็นสาวกภาษิต คำที่ใครก็ตามกล่าวยกพุทธวจน คำที่มาอธิบายเพิ่ม ก็ชื่อว่า เป็นคำแต่งใหม่ เพราะห้ามอธิบาย ห้ามมีคำอื่นที่นอกเหนือจากเล่มนี้หน้านี้ ข้อนี้ นั่นเองครับ ดังนั้นการอธิบายเพิ่มเติมที่สอดคล้อง ถูกต้องก็คือ คำพระพุทธเจ้านั่นเอง แต่อธิบายผิด ขัดหลักธรรมเป็นอนัตตา ก็เป็นคำแต่งใหม่ เป็นตะโพน กลอง ที่เป็นสาวกภาษิตนั่นเองครับ (อาณีสูตร)

  • @ตะบันน้ําแม่ริมเชียงใหม่

    ดูลมเป็นหนึ่งในกัมมัฏฐาน 40 เป็นสมถะที่จะก้าวขึ้นไปสู่ขั้นวิปัสสนาหรือเปล่าครับ สาธุ

    • @paderm
      @paderm  3 หลายเดือนก่อน +1

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ ครับ หลงคิดว่าเป็นสติแต่ไม่ใช่สติ
      สิ่งที่ทำไม่ใช่สติ แต่สำคัญผิดว่า สติ จดจ้อง ไม่มีปัญญารู้อะไร เลือกจะทำจดจ้อง คือ โลภะ ลืมคำว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา อนัตตา คือ บังคับบัญชาไม่ได้ สติเป็นธรรม สติก็บังคับไม่ได้ แล้วแต่ว่าสติจะเกิดระลึกรู้อะไร เป็นหน้าที่ของสติ ไม่ใช่เรา จดจ้องที่สมหายใจ ไม่มีปัญญารู้ว่าเป็นธรรม นั่นคือโลภะ เพราะไม่มีปัญญา อานาปานสติจึงต้องประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ(ปัญญา) ไม่มีปัญญา นิ่งไม่รู้อะไร ไม่ใช่สติ ไม่ใช่อานาปานสติ แต่เป็นโลภะที่ประกอบพร้อมกับความเห็นผิด

    • @paderm
      @paderm  3 หลายเดือนก่อน +1

      ผิดตั้งแต่จะเลือกทำอานาปานสติ ลืมอนัตตา
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

  • @thanachok8151
    @thanachok8151 9 หลายเดือนก่อน +5

    อ่านแต่หัวข้อ ก็อาจจะเป็นดราม่า แต่พอฟัง หลักดีมากๆ ครับ ผมไม่แน่ใจว่าถูกไหม จิตมันต้องคิดของมัน จะคุมให้มันไม่คิด ก็อาจจะไม่ง่าย และถ้าคุมให้สงบ ก็คงมีประโยชน์ตรงสุข แต่ถ้าหลักพุทธแท้ๆ คือ การปฏิบัติธรรม ไม่ว่าจะสั้น ยาว ต้องมีปัญญาประกอบด้วย (เข้าใจแบบนี้นะครับ) ความเห็นส่วนตัวครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +6

      ครับ สำคัญมีปัญญา และที่สำคัญ เรายังเข้าใจ ปฏิบัติธรรมผิดกัน อ่านดังนี้ครับ
      ปฏิบัติธรรมคืออะไร
      คำว่า ปฏิบัติ ที่ใช้กันในภาษาไทย กับปฏิบัติในภาษาบาลี ความหมายไม่ตรงกัน กล่าวคือ โดยมากจะเข้าใจว่าเป็นการไปทำ แต่ความจริงแล้ว ไม่ใช่การไปทำ เพราะเหตุว่า ปฏิบัติธรรมไม่ใช่การไปทำปฏิบัติ ไม่ใช่การไปทำอะไรที่ผิดปกติขึ้นมา แต่ธรรมเกิดขึ้นทำกิจหน้าที่ของธรรม นั่นก็คือ สติ และ สัมปชัญญะ (ปัญญา) เกิดขึ้นระลึกรู้ ตรงลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏในขณะนี้ตามความเป็นจริง ซึ่งจะต้องอาศัยการฟัง การศึกษาพระธรรม สะสมความเข้าใจในเรื่องของสภาพธรรมไปตามลำดับ เพราะเหตุว่า ถ้าไม่มีความเข้าใจที่ถูกต้องแล้ว การปฏิบัติถูกต้องย่อมมีไม่ได้อย่างแน่นอน เพราะฉะนั้นความเข้าใจถูก เห็นถูก จึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ปฏิบัติธรรม คือ การถึงเฉพาะลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏ ขณะใดที่สภาพธรรมปรากฏให้รู้ สติเกิดระลึกลักษณะของสภาพธรรม ขณะนั้นก็ถึงเฉพาะที่ลักษณะของสภาพธรรมว่าเป็นธรรม ไม่ใช่เรา จึงเป็นความหมายที่ถูกต้องของการปฏิบัติธรรม คือการถึงเฉพาะลักษณะของสภาพธรรมว่าเป็นธรรมไม่ใช่เรา เพราะสติและปัญญาที่เกิดรู้ตามความเป็นจริง ซึ่งการจะถึงการบรรลุธรรม ก็ต้องเริ่มจากการฟังพระธรรม ศึกษาพระธรรม อบรมปัญญาอย่างยาวนานครับ ขออนุโมทนา

    • @thanachok8151
      @thanachok8151 9 หลายเดือนก่อน +2

      อยากทราบมุมมองพุทธกับเรื่องของ การหารายชื่ออโหสิกรรมครับ@@paderm

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +7

      เราเข้าใจผิดตั้งแต่คิดว่ามีเจ้ากรรมนายเวรแล้วครับ คลิปนี้ครับ th-cam.com/users/shorts6J2eD_9flMY?si=hsCUvoWYnMdeIMe8
      เจ้ากรรมนายเวรไม่มี เพราะสัตว์โลกมีกรรมเป็นของของตน เมื่อเหตุมีแล้ว วิบากจึงเกิดขึ้นได้ วิบาก เป็นผลของกรรม มาจากกรรมที่ได้กระทำแล้วทั้งนั้น เป็นธรรมที่เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
      ดังนั้น อโหสิกรรม คือ กรรมที่ได้ทำแล้ว ดังนั้นไม่ใช่ว่าจะให้ใครยกโทษให้ กรรมจะไม่ให้ผล เพราะกรรมสำเร็จแล้วครับ

    • @thanachok8151
      @thanachok8151 9 หลายเดือนก่อน +3

      ขอบคุณครับ@@paderm

  • @aouaou8574
    @aouaou8574 9 หลายเดือนก่อน +5

    กราบสาธุสาธุสาธุสาธุ

  • @Micky8403
    @Micky8403 9 หลายเดือนก่อน +8

    นอบ"น้อม" กราบ "คุณพระรัตนตรัย"ค่ะ.และกราบ อนุโมทนากุศลจิตที่ดีงามค่ะ."ท่านอาจารย์ Paderm Yeesomb ด้วยความเคารพรักยิ่ง" ค่ะ.( "น้อม" ฟัง"พระธรรม"ท่านเมตตา ธรรมะไม่ใช่เรา เกิดสติ เกิดปัญญารู้ความจริงในขณะนี้ "สติและปัญญาปฏิบัติ เป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้" มีสัมมาสมาธิ และเกิดปัญญาร่วม ,ส่วนมิจฉาสมาธิ เพียงนิ่ง แต่ไม่เกิดปัญญา ไม่ถูกต้อง ) "น้อม" กราบ ขอบพระคุณ อย่างสูง ค่ะ.ท่านอาจารย์.❤

  • @PongsiSaytro
    @PongsiSaytro 9 หลายเดือนก่อน +2

    ช่วยอธิบายศีล สมาธิ ภาวนา หน่อยครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      ครับเข้าใจสมาธิ ก่อนครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

  • @tanuchphan5861
    @tanuchphan5861 9 หลายเดือนก่อน +2

    สาธุค่ะ แล้วสมาธิ กับอานาปานสติที่ถูกต้องคืออย่างไรคะ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      ครับเข้าใจสมาธิที่ถูกต้องดังนี้ครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      อานาปานสติที่ถูกต้อง อธิบายในคลิปนี้ครับ คลิกฟังครับ th-cam.com/video/7BvYpOtBsS8/w-d-xo.htmlsi=NDKSzrcLQU75rxyZ
      และคลิปนี้ก็มีอธิบายไว้ครับ อานาปานสติที่ถูกต้องได้อธิบายไว้แล้วในคลิปครับ สำคัญที่รับฟังในคลิป คลิกที่ตัวเลขสีฟ้า ครับ
      08:51 อานาปานสติที่ถูกต้องคือมีสภาพธรรมที่ไม่ใช่เราปรากฏตรงลักษณะกับสติปัญญา

  • @45nnc
    @45nnc 9 หลายเดือนก่อน +2

    ถ้าอย่างนั้น อานาปานสติ ที่ถูกต้องคืออะไร ต้องปฏิบัติอย่างไรครับ?

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      อธิบายไว้ในคลิปไว้หมดแล้วครับ คลิกที่ตัวเลขสีฟ้าจะไปที่เนื้อหาครับ
      05:28 หนทางที่ถูกต้องคือฟังธรรมจนสติและปัญญาเกิดรู้ความจริงในขณะนี้โดยไม่ใช่เราเลือกเจาะจงอนัตตา
      08:51 อานาปานสติที่ถูกต้องคือมีสภาพธรรมที่ไม่ใช่เราปรากฏตรงลักษณะกับสติปัญญา

  • @lifehardnatureheal7883
    @lifehardnatureheal7883 3 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์คะ ถ้าเราทุกข์ใจเพราะเอาปัญหาของคนอื่นมาคิดจนเครียด แล้วก็คอยเตือนตัวเองให้เลิกคิดว่าทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่มีสัตว์บุคคลเราเขาแต่มันก็ไม่ได้ผล ควรทำยังไงดีคะ

    • @paderm
      @paderm  3 หลายเดือนก่อน +1

      ฟังพระธรรมต่อไปครับ

  • @StateSpace289
    @StateSpace289 9 หลายเดือนก่อน +2

    คนส่วนมากเวลานั่งสมาธิ​ จะไปบังคับลมหายใจพยายามสูดลึกออกลึก​ ไม่ได้เป็นผู้สังเกตุเพราะยังมีการบังคับลมยิ่วนั่งยิ่งเครียดเพราะคอยบังคับลมเข้าออกตลอดเวลาทั้งๆที่มันเข้าออกเองโดยอัตโนมัติสั้นบ้างยาวบ้าง

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ผิดตั้งแต่เลือกรู้ลมครับ
      เลือกรู้ลม(ไม่ใช่สติด้วย)ลืมอนัตตา บังคับไม่ได้ ไม่ใช่เราเลือก สติปัญญาเลือกรู้เอง
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

  • @yuttachaiasawinnimitkul5871
    @yuttachaiasawinnimitkul5871 9 หลายเดือนก่อน +3

    เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว

  • @โต้งสุดหล่อ-ฎ4ต
    @โต้งสุดหล่อ-ฎ4ต 9 หลายเดือนก่อน +4

    🙏🙏🙏

  • @koltiptong5487
    @koltiptong5487 9 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์ครับ สรุปแล้วนิพพานคืออะไร และจะเข้าถึงได้อย่างไรครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      เป็นเรื่องไกล เริ่มจากฟังพระธรรมให้เข้าใจว่าธรรมคืออะไร ไม่ต้องกล่าวถึงผลเลยครับ คลิกฟัง th-cam.com/video/KC_Px9kGsOg/w-d-xo.htmlsi=DGz-V7s_o-7XAuxz

  • @Katiekate89
    @Katiekate89 4 หลายเดือนก่อน +3

    Make sense to me 🩵thank you 🙏🏼

  • @seagreen1000
    @seagreen1000 9 หลายเดือนก่อน +4

    ช่วยอธิบายเจโตวิมุตติ กับปัญญาวิมุตติให้หน่อยได้ไหมครับ ว่าต่างกันอย่างไร
    ขอบคุณครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      วิมุตติ คือ ความหลุดพ้นแต่ขึ้นอยู่กับว่า จะหลุดพ้นด้วยอะไร ถ้าหลุดพ้นพร้อมด้วยฌาน เป็นเจโตวิมุตติ หลุดพ้นด้วยปัญญา เป็นปัญญาวิมุติ เมื่อศึกษาพระธรรมคำสอนในทางพระพุทธศาสนา จะพบ 2 คำนี้ในพระไตรปิฎกและอรรถกถาซึ่งมีความหมายหลายนัย ในบางแห่ง แสดงว่า ฌานจิตทุกระดับเป็นเจโตวิมุตติ เป็นความหลุดพ้นด้วยกำลังแห่งฌานขั้นต่างๆ ที่เกิดขึ้นข่มกิเลสไว้ได้ ในบางแห่งหมายถึง สมาธิ เอกัคคตาเจตสิก ในอรหัตตผล ชื่อว่า เจโตวิมุตติ คำว่า ปัญญาวิมุตติ ในอรรถกถาบางแห่ง แสดงไว้ว่า หมายถึง ปัญญาในอรหัตตผล และในบางแห่งกล่าวถึง การบรรลุเป็นพระอรหันต์ โดยที่ไม่ประกอบด้วยฌานขั้นใดขั้นหนึ่งเลย เรียกว่า ปัญญาวิมุตติ ครับ

  • @paderm
    @paderm  9 หลายเดือนก่อน +20

    คนสนใจธรรมสนใจปฏิบัติกันมากแต่สิ่งที่ลืมและเข้าใจผิด คือ
    ข้อที่ ๑ เข้าใจสมาธิผิดว่า ถ้าเป็นสมาธิแล้วดีหมด(จดจ่อที่ลม)ทรงแสดงมิจฉาสมาธิด้วย #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร
    ข้อที่ ๒ ลืมเรื่องปัญญา : จดจ่อลมนิ่ง ไม่มีปัญญารู้อะไร(ไม่สงบจากโมหะ) สิ่งที่ควรรู้ยิ่ง #ทุติยปหานสูตร (พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องของปัญญา)
    ข้อที่ ๓ ลืมอนัตตา : ธรรมบังคับไม่ได้ สติเป็นธรรม เลือกอารมณ์ นั่นคือโลภะ(นันทิ)เลือก ไม่ใช่สติ
    ข้อที่ ๔ เอาจิตอยู่กับลม : คำแต่งใหม่ไม่มีในพระไตรปิฎก จึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน#อาณีสูตร
    จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
    การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
    ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็นลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิเป็นอย่างไร และ มิจฉาสมาธิเป็นอย่างไร ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @ชิษณุพงศ์รัตนพันธุ์-ฐ5บ
      @ชิษณุพงศ์รัตนพันธุ์-ฐ5บ 9 หลายเดือนก่อน +1

      รู้ลมเป็นการเดินทางผิดเหรอครับ มีการสอนให้รู้ลม😮😮

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      @@ชิษณุพงศ์รัตนพันธุ์-ฐ5บ เลือกรู้ลม(ไม่ใช่สติด้วย)ลืมอนัตตา บังคับไม่ได้ ไม่ใช่เราเลือก สติปัญญาเลือกรู้เอง
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      @@ชิษณุพงศ์รัตนพันธุ์-ฐ5บ สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      @@ชิษณุพงศ์รัตนพันธุ์-ฐ5บ เอาจิตอยู่กับลม เอาจิตอยู่กับกาย คำแต่งใหม่ไม่มีในพุทธวจนและอธิบายอานาปานสติผิดจึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน
      ปฏิเสธอรรกถาเป็นคำแต่งใหม่ คำที่ตนเองยกพุทธวจนแล้วอธิบายเพิ่มก็คือคำแต่งใหม่เช่นกัน
      ถ้าจะอ้างว่าเอาแต่พุทธวจนทั้งหมด คำอรรถกถาอธิบาย ไม่ใช่พุทธวจน เป็นคำแต่งใหม่ เช่นนั้นแล้ว คำของตนเองที่ยกพุทธวจนแล้วอธิบายออกมา เช่น ยก สติปัฏฐานสูตร หน้านั้น เล่มนี้ ฉบับนี้ แล้วตนเองก็อธิบายเป็นภาษาไทย ให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ คำที่ตนเองอธิบาย นั่นก็คือ ไม่ใช่พุทธวจน เป็นอรรถกถาจารย์เช่นกัน เพราะเป็นคำที่ไม่มีในพระไตรปิฎก เล่มนั้นเล่มนี้ ถ้าจะให้ถูกตามที่ไม่เอาอรรถกถาจารย์ ก็คือ ห้ามพูดต่ออะไรเลย ยกพุทธวจนล้วนๆ นั่นแหละครับ ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม ดังนั้นตนเองก็อธิบายเพิ่มเติม หลังจากยกพุทธวจน ที่ไม่ตรงเป๊ะตามพระไตรปิฎกเช่นกัน นี่คือการเปรียบเทียบให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว คำใดก็ตาม ที่อธิบายโดยภาษาไหน อย่างไร แต่อธิบายความหมายได้ตรงตามคำพระพุทธเจ้า นั่นก็ชื่อว่าคำพระพุทธเจ้า ดังเช่น ในอรณวิภังคสูตร บางประเทศ คำว่า ภาวขนะ ใช้คำนี้ บางประเทศ ภาชนะใช้คำนี้ แต่ภาษาใด คำใดก็ตาม ที่อธิบายให้เข้าใจถึงความจริงของธรรม นั่นเป็นคำพระพุทธเจ้าครับ แต่เอาจิตอยู่กับลมเป็นการเลือกลืมอนัตตา ไม่มีปัญญารู้ความจริง จึงเป็นการยกคำแต่งใหม่และอธิบายผิดด้วย(เป็นสาวกภาษิต) ตรงกันข้ามกับ อรรถกถาจารย์ฺที่อธิบายเพิ่มขยายความในพุทธวจน โดยสอดคล้องกับอนัตตา จึงเป็นคำพระพุทธเจ้า ไม่ใช่สาวกภาษิตนั่นเองครับ
      อรณวิภังคสูตร
      [๖๖๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญเสีย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่าปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หนะ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดปรักปรำโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะนั้นกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ ตามกำลังและความแน่ใจว่า นี้เท่านั้นจริง อื่นเปล่าอย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า
      หนะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ อย่างไม่ใช่ความแน่ใจว่า เป็นอันท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พูดแก่ข้าพเจ้าหมายถึงภาชนะนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญ นั่นเราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ

  • @skolpatsensook1
    @skolpatsensook1 9 หลายเดือนก่อน +2

    ตามมาเพิ่มเติมความรู้กับอาจารย์ขอรับ...สาธุธรรมกับคณะทำงานทุกท่านขอรับ

  • @nitpmc7966
    @nitpmc7966 9 หลายเดือนก่อน +3

    ปัญญามี 3 7:52

  • @supanatbauchan2140
    @supanatbauchan2140 9 หลายเดือนก่อน +3

    เราจะทำเป็นมิจฉามรรค ควรศึกษาให้ลึกซึ้งแม้คำว่าสติ

  • @dontreekhrutdilakanan8548
    @dontreekhrutdilakanan8548 9 หลายเดือนก่อน +3

    กะไม่ให้มีการค้นพบใหม่เลยรึไง
    ช่วยอธิบายปรากฎการณ์มี่พระพุทธเจ้าบรรลุโลกสว่างไสวเสวยวิมุตติ7วัน7คืนใต้ต้นไม้นั่นเป็นผลมาจากอะไรเหรอครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      เจริญฌานและวิปัสสนา ไม่ใช่การนิ่งจดจ่อลมไม่รู้อะไรครับ มีพระปัญญาครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +1

      ใบไม้ในกำมือยังไม่รู้ว่าถืออะไร จะไปรู้จักอะไรกับใบไม้ในป่า

    • @ธนวรรณอิ่ม
      @ธนวรรณอิ่ม 9 หลายเดือนก่อน +1

      ใครค้นพบอะไรใหม่ครับ

  • @VivoY-ie8sf
    @VivoY-ie8sf 9 หลายเดือนก่อน +4

    อนุโมทนา

  • @Ferdinand745
    @Ferdinand745 9 หลายเดือนก่อน +2

    หมายความว่านั่งเฉยๆ โดยไม่ไปจ้องที่ลมหายใจใช่ไหมครับ ถ้าผมเห็นผิด โปรดช่วยอธิบายให้ผมแบบละเอียดด้วยครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +5

      ไม่ใช่การทำอะไรด้วยความไม่รู้ นั่งเฉย ๆ แล้วเข้าใจความจริงไหม ความจริงที่เกิดปรากฏทางตาหูจมูกลิ้นกายใจจะเข้าใจอย่างไร ก็ต้องเข้าใจด้วยปัญญา แล้วความเข้าใจนั้นจะนำไปสู่การกระทำที่ถูกต้อง ปัญญาต้องนำการกระทำ ไม่ใช่เอาการกระทำไปนำปัญญา เพราะปัญญาจะเจริญขึ้น ก็ด้วยการกระทำที่ประกอบด้วยปัญญาที่ผุดเกิดขึ้นทีละเล็กละน้อย ไม่ทำด้วยความไม่รู้ แต่รู้แล้วจึงทำ ซึ่งก็ไม่ใช่เราไปทำ แต่ความรู้นั้นล่ะที่ทำ

    • @Ferdinand745
      @Ferdinand745 9 หลายเดือนก่อน

      @@sabbe.dhamma.anatta ขอวิธีแบบละเอียดได้ไหม ผมไม่อยากเดินผิดทางแล้ว

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +1

      @@Ferdinand745 ตาม เกสปุตตสูตร หรือที่เรียกกันว่า กาลามสูตร พระพุทธเจ้าท่านสอนว่า เมื่อรู้ด้วยปัญญาตนว่าดี แล้วจึงละจึงทำ แสดงว่า ถ้ายังไม่เกิดปัญญาผุดขึ้นทีละเล็กละน้อยมาหล่อเลี้ยงการกระทำคำพูดและความคิดให้นำไปสู่ความเป็นสติสัมปชัญญะ สู่สมาธิอันเป็นสัมมาสมาธิ การกระทำนั้นย่อมไม่บริสุทธิ์ เมื่อไม่เกิดปัญญานำก็ไม่ใช่ทางสายกลาง เมื่อยังไม่รู้ก็ควรฟัง ควรไตร่ตรองความจริง ความจริงคือธรรมะ ไปจนกว่าจะเป็นเหตุปัจจัยแก่ปัญญา ไม่ใช่รีบ เพราะรีบไปโดยไม่มีปัญญา ก็ไม่เกิดประโยชน์ ประโยชน์ย่อมมีแก่ผู้ไม่ประมาท ในทุกขณะจิต จึงเป็นความเพียรชอบ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      @@Ferdinand745 สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      @@Ferdinand745 เลือกรู้ลม(ไม่ใช่สติด้วย)ลืมอนัตตา บังคับไม่ได้ ไม่ใช่เราเลือก สติปัญญาเลือกรู้เอง
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

  • @billchaisiri3790
    @billchaisiri3790 9 หลายเดือนก่อน

    สอบถามครับ ถรรถกถา ที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า คำสาวกถ้าศาสดาไม่รับรองห้ามฟังจริงหรือไม่

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      ไม่มีข้อความใดในพระไตรปิฎก เล่มไหนหน้าไหน ที่กล่าวแสดงว่า ห้ามฟังคำสาวกที่พระศาสดาไม่รับรอง ครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      ปฏิเสธอรรกถาเป็นคำแต่งใหม่ คำที่ตนเองยกพุทธวจนแล้วอธิบายเพิ่มก็คือคำแต่งใหม่เช่นกัน
      ถ้าจะอ้างว่าเอาแต่พุทธวจนทั้งหมด คำอรรถกถาอธิบาย ไม่ใช่พุทธวจน เป็นคำแต่งใหม่ เช่นนั้นแล้ว คำของตนเองที่ยกพุทธวจนแล้วอธิบายออกมา เช่น ยก สติปัฏฐานสูตร หน้านั้น เล่มนี้ ฉบับนี้ แล้วตนเองก็อธิบายเป็นภาษาไทย ให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ คำที่ตนเองอธิบาย นั่นก็คือ ไม่ใช่พุทธวจน เป็นอรรถกถาจารย์เช่นกัน เพราะเป็นคำที่ไม่มีในพระไตรปิฎก เล่มนั้นเล่มนี้ ถ้าจะให้ถูกตามที่ไม่เอาอรรถกถาจารย์ ก็คือ ห้ามพูดต่ออะไรเลย ยกพุทธวจนล้วนๆ นั่นแหละครับ ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม ดังนั้นตนเองก็อธิบายเพิ่มเติม หลังจากยกพุทธวจน ที่ไม่ตรงเป๊ะตามพระไตรปิฎกเช่นกัน นี่คือการเปรียบเทียบให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว คำใดก็ตาม ที่อธิบายโดยภาษาไหน อย่างไร แต่อธิบายความหมายได้ตรงตามคำพระพุทธเจ้า นั่นก็ชื่อว่าคำพระพุทธเจ้า ดังเช่น ในอรณวิภังคสูตร บางประเทศ คำว่า ภาวขนะ ใช้คำนี้ บางประเทศ ภาชนะใช้คำนี้ แต่ภาษาใด คำใดก็ตาม ที่อธิบายให้เข้าใจถึงความจริงของธรรม นั่นเป็นคำพระพุทธเจ้าครับ แต่เอาจิตอยู่กับลมเป็นการเลือกลืมอนัตตา ไม่มีปัญญารู้ความจริง จึงเป็นการยกคำแต่งใหม่และอธิบายผิดด้วย(เป็นสาวกภาษิต) ตรงกันข้ามกับ อรรถกถาจารย์ฺที่อธิบายเพิ่มขยายความในพุทธวจน โดยสอดคล้องกับอนัตตา จึงเป็นคำพระพุทธเจ้า ไม่ใช่สาวกภาษิตนั่นเองครับ
      อรณวิภังคสูตร
      [๖๖๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญเสีย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่าปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หนะ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดปรักปรำโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะนั้นกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ ตามกำลังและความแน่ใจว่า นี้เท่านั้นจริง อื่นเปล่าอย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า
      หนะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ อย่างไม่ใช่ความแน่ใจว่า เป็นอันท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พูดแก่ข้าพเจ้าหมายถึงภาชนะนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญ นั่นเราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ

  • @soulbind
    @soulbind 9 หลายเดือนก่อน +2

    ไม่ปรากฏมีการเกิด ไม่ปรากฏมีการเสื่อม เมื่อตั้งอยู่ไม่มีภาวะอย่างอื่นปรากฏนี้ใช้ลักษณะของนิพพานตามพระสูตรไหมครับช่วยอธิบายขยายให้เข้าใจหน่อยครับอาจารย์

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +4

      ตติยนิพพานสูตร
      ว่าด้วยพระนิพพานธรรมชาติปรุงแต่งไม่ได้
      [๑๖๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ :-
      สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อาราม ของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ก็สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงชี้แจงให้ภิกษุทั้งหลายเห็นแจ้ง ... เงี่ยโสตลงสดับธรรม ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนี้แล้ว จึงทรงเปล่ง อุทานนี้ในเวลานั้นว่า
      ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมชาติไม่เกิดแล้ว ไม่ เป็นแล้ว อันปัจจัยกระทำไม่ได้แล้ว ปรุงแต่งไม่ได้ แล้ว มีอยู่ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าปัจจัยกระทำไม่ได้แล้ว เกิดแล้ว ไม่เป็นแล้ว อันปัจจัยกระทำไม่ได้แล้ว ปรุงแต่งไม่ได้แล้ว จักไม่ได้มีแล้วไซร้ การสลัดออกซึ่งธรรมชาติที่เกิดแล้ว เป็นแล้ว อันปัจจัย กระทำแล้ว ปรุงแต่งแล้ว จะไม่พึงปรากฏในโลกนี้ เลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะธรรมชาติอันไม่ เกิดแล้ว ไม่เป็นแล้ว อันปัจจัยกระทำไม่ได้แล้ว ปรุงแต่งไม่ได้แล้ว มีอยู่ ฉะนั้น การสลัดออกซึ่ง ธรรมชาติที่เกิดแล้ว เป็นแล้ว อันปัจจัยกระทำแล้ว ปรุงแต่แล้วจึงปรากฏ.
      จบตติยนิพพานสูตรที่ ๓

  • @NayMobile-eh6is
    @NayMobile-eh6is 5 หลายเดือนก่อน +3

  • @doctorfate5913
    @doctorfate5913 9 หลายเดือนก่อน +3

    มีคำว่า มิจฉาสติ ไหม, ปัญญาจะเกิดได้ไง ถ้าไม่ฝึกสมาธิ ปัญญาไม่ได้เกิดกันง่ายๆ, เด็กทำไม่ได้แน่นอนที่จะให้ฝึกรู้ลมหายใจเข้าออกเป็นเวลาหลายนาที

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      เข้าใจสมาธิใหม่ครับเพราะเราเข้าใจผิดอยู่

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

  • @nakornteerakit5880
    @nakornteerakit5880 9 หลายเดือนก่อน +3

    ให้เข้าใจง่ายๆ คือทุกอย่างไม่มีตัวตน

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ขั้นการฟังครับ แต่ที่สำคัญ ไม่มีตัวตนแล้วมีอะไร มีธรรม และ จะเข้าถึงรู้ตัวลักษณะของธรรม เช่น เห็นในขณะนี้ เห็นแต่เป็นเพียงสี แต่ก็คือเห็นเป็นสัตว์บุคคล เังนั้น ปัญญามีหลายระดับครับ จึงไม่ง่ายเลยที่จะประจักษ์ความจริงขั้นรู้ตรงลักษณะครับ

  • @เกษณีย์แต่งมา-ฅ3ส
    @เกษณีย์แต่งมา-ฅ3ส 9 หลายเดือนก่อน +4

    ❤❤❤

  • @yuthekamai6014
    @yuthekamai6014 9 หลายเดือนก่อน

    แล้วการฝึกสมาธิ เบื่องต้นต้องทำยังไงครับ(ผมกำลังฝึกทำสมาธิครับ)

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      เราเข้าใจสมาธิผิดกันตั้งแต่ต้นครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

  • @nanthineebenjachaya9769
    @nanthineebenjachaya9769 9 หลายเดือนก่อน

    อ. ครับ สติคือตัวประคับประครองไม่ให้เราไปทำอกุศล และละอายเกรงกลัวต่อบาปได้ไหมครับ ขอบคุณครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      สติ ตามพระธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ที่เป็นเจตสิก สติ เป็นเจตสิกฝ่ายดี คือเกิดกับจิตที่ดีงาม ไม่เกิดกับอกุศลจิตเลย สติ ทำหน้าที่ระลึกเป็นไปในทางที่ดี และ สติเป็นธรรมที่เป็นเครื่องกั้นกระแสกิเลส
      สติ มีหลายอย่าง หลายชนิด แต่ สติ ก็ต้องกลับมาที่ สติเป็น สภาพธรรมฝ่ายดีครับ สติ แบ่งตามระดับของกุศลจิต เพราะเมื่อใด กุศลจิตเกิด สติจะต้องเกิดร่วมด้วย กุศลจิต มี 4 ขั้น คือ ขั้นทาน ศีล สมถภาวนา และ วิปัสสนาภาวนา
      สติจึงมี 4 ขั้น คือ สติที่ระลึกเป็นไปในทาน สติที่ระลึกไปในศีล สติที่ระลึกเป็นไปในสมถภาวนา และ สติที่ระลึกเป็นไปในวิปัสสนาภาวนา
      สติขั้นทาน คือ เมื่อสติเกิดย่อมระลึกที่จะให้ สติขั้นศีล คือ ระลึกที่จะไม่ทำบาป งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ สติขั้นสมถภาวนา เช่น ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า และสติขั้นวิปัสสนา คือ สติที่ระลึกลักษณะของสภาพธรรมที่มีในขณะนี้ เกิดพร้อมปัญญารู้ความจริงว่าเป็นธรรมไม่ใช่เรา ครับ

    • @KatieCaT999
      @KatieCaT999 24 วันที่ผ่านมา

      ​@@padermสาธุคะอาจารย์ กระจ่าง แจ่มแจ้ง ขอบพระคุณ และ ขออนุโมทนาบุญในการเผยแผ่ธรรมะที่ถูกปิดให้เปิดยังเป็นการให้ธรรมะเป็นทาน สิบทอดพระพุทธศาสนาคะ สาธุ 🙏🏻🙏🏻🙏🏻
      ปล. ติดตามไล่อ่านทุกคอมเมนท์ ได้ประโยชน์และความเห็นถูกมากเลยคะ❤😊

  • @mali_g77.81
    @mali_g77.81 9 หลายเดือนก่อน +2

    🙏

  • @AnanchRed
    @AnanchRed 9 หลายเดือนก่อน

    ตามหลักต้องให้รู้สึกใจก่อนคอยหายใจ แต่จะรู้จักใจก็ยาก ได้แต่ชื่อใจมาพูดกันตัวจริงไม่เห็นนะ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ไม่เอาปริยัติตำรา ปฏิบัติเลย
      ผู้ที่เข้าใจผิดที่คิดว่า ต้องปฏิบัติเลย ลืมตรวจสอบกับคำพระพุทธเจ้าว่าพระองค์ตรัสว่าอย่างไร ตรัสว่า ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ดังนั้นถ้าเราฟังหลวงปู่ หลวงพ่อ ไม่ฟังคำพระพุทธเจ้า เราก็เชื่อตามนั้น ไม่ได้มีพระธรรมเป็นศาสดาแทนพระองค์ ผู้ที่จะไม่ต้องฟังจากใครเลย แล้วบรรลุ มีสองจำพวกครับ คือ พระพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้า ส่วนนอกนั้นต้องฟังให้เข้าใจ(ปริยัติ) สาวก จึงแปลว่า ผู้ที่สำเร็จจากการฟัง ถ้าไม่ฟัง ก็เป็นผู้คิดเองหรือจะเป็นพระพุทธเจ้าเอง ครับ
      ปฏิบัติธรรม ก็คิดว่าเราจะปฏิบัติ ก็เข้าใจผิดคิดว่ามีเราปฏิบัติ แท้ที่จริงมีแต่ธรรม ขณะที่ฟังเข้าใจ ปัญญาเกิดรู้ความจริง ปัญญาและสติที่เกิดรู้ความจริงในขณะนนี้ ใครปฏิบัติ เราหรือ ธรรม ธรรมปฏิบัติหน้าที่รู้ความจริง นั่นคือปฏิบัติธรรมแล้วครับ ดังนั้นแนะนำค่อยๆฟัง จะค่อยๆเข้าใจขึ้นครับ ขออนุโมทนา

  • @thanchanokinwagool7524
    @thanchanokinwagool7524 9 หลายเดือนก่อน +1

    สรุปว่า "ปัญญา" เกิดได้อย่างไรครับ ถ้าไม่เริ่มต้นจากศีล ไม่ต่อด้วยสมาธิ?

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ปัญญาเกิดจากการฟังพระธรรมครับ และเมื่อปัญญาเกิดขึ้น ศีลก็มาพร้อมปัญญาและมีสมาธิด้วยในขณะนั้นครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +1

      ศีลก็นำด้วยปัญญา สมาธิก็นำด้วยปัญญา ปัญญาที่ยิ่งกว่าก็เจริญขึ้นจากความคิดการกระทำคำพูดที่ล้วนต้องประกอบด้วยปัญญา ธรรมทั้งปวงมีฉันทะเป็นมูล ไม่มีเราไปเริ่มทำ มีขณะนี้เดี๋ยวนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่าไม่จริง เมื่อมีจริงก็ต้องเริ่มเข้าใจจากขณะนี้เดี๋ยวนี้ เข้าใจ ว่าความรู้ตามจริง ไม่ได้มาจากการทำสิ่งใดด้วยความไม่รู้ เห็นโทษของความไม่รู้ ค่อย ๆ ฟัง ค่อย ๆ เข้าใจ นี่เป็นเรื่องยากที่สุดในสังสารวัฏ ไม่รู้ได้เพราะเพียร ไม่รู้ได้เพราะพัก

  • @วงเดือนเสสะเวช-ผ7ร
    @วงเดือนเสสะเวช-ผ7ร 9 หลายเดือนก่อน

    เข้าใจยากมากๆคะ​ พยายามทำความเข้าใจยิ่งเหมือนจะไม่เข้าใจเลยคะ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      เพราะความไม่รู้ทำให้ไม่เข้าใจ ก็เป็นปกติของอวิชชา ที่ทำหน้าที่ครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +4

      ฟังอาจารย์ท่านหนึ่งมาสามสิบกว่าปี ผ่านไปยี่สิบปีพึ่งรู้ตัวว่าที่ผ่านมาคิดว่าเข้าใจนั้นไม่เข้าใจอะไรเลย ความเป็นผู้ตรงสำคัญยิ่งในการศึกษาพระธรรม ไม่รู้คือไม่รู้ ก็ตรงว่าไม่รู้ ตรงว่าการจะรู้ตรงได้ไม่ใช่การไปทำอะไรด้วยความไม่รู้ เริ่มที่ความสนใจใส่ใจ ค่อย ๆ พิจารณาเห็นโทษของความไม่รู้ รู้จักความไม่รู้ไปตามลำดับ ไม่ลัด เพราะลัดด้วยความไม่รู้ ไม่รีบ เพราะรีบด้วยความไม่รู้ ถึงทางสองแพร่งก็ต้องรู้ว่าทางไหนจะไปไหนค่อยเดินไป

  • @zzzz-vm3zi
    @zzzz-vm3zi 9 หลายเดือนก่อน +1

    กราบสาธุขอบพระคุณคะที่อธิบายให้ได้รุ้หลงผิดมาพอสมควรละดีใจที่ได้รู้

  • @snowman3781
    @snowman3781 9 หลายเดือนก่อน +1

    สมาธิที่ทำให้ได้ฤทธิ์ ต้องทำอย่างไงหรอครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      เรายังเข้าใจสมาธิผิดอยู่ตั้งแต่ต้นครับ ดังนั้นไม่ต้องพูดถึงฤทธิ์เลยครับ เพราะเริ่มต้นผิด เข้าใจใหม่ดังนี้
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      เพ่งผิด ครับ ไม่ใช่ปฐมฌาน เราเข้าใจผิดตั้งแต่ต้นว่า การเพ่งดีหมด จึงผิดจากคำพระพุทธเจ้า จึงทำผิด ปฏิบัติผิดครับ ไม่ต้องกล่าวถึงปฐมฌานเลย เพราะผิดตั้งแต่ต้น ครับ
      โคปกโมคคัลลานสูตร
      พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๑ - หน้าที่ 162
      ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ข้าพเจ้าขอเล่าถวาย สมัยหนึ่งท่านพระโคดมพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่กูฏาคารศาลา ในป่ามหาวัน กรุงเวสาลี ครั้งนั้นแล ข้าพเจ้าเข้าไปเฝ้าท่านพระโคดมพระองค์นั้นยังที่ประทับ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน ณ ที่นั้น พระองค์ได้ตรัสฌานกถาโดยอเนกปริยาย พระองค์ทั้งเป็นผู้เพ่งฌานและเป็นผู้มีฌานเป็นปกติ และก็ทรงสรรเสริญฌานทั้งปวง.
      [๑๑๗] อา. ดูก่อนพราหมณ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นทรงสรรเสริญฌานทั้งปวงก็มิใช่ ไม่ทรงสรรเสริญฌานทั้งปวงก็มิใช่ พระองค์ไม่ทรงสรรเสริญฌานเช่นไร ดูก่อนพราหมณ์ ภิกษุบางรูปในธรรมวินัยนี้ มีใจรัญจวนด้วยกามราคะ ถูกกามราคะครอบงำอยู่ และไม่รู้จักสลัดกามราคะอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะกามราคะ ทำกามราคะไว้ในภายใน มีใจปั่นป่วนด้วยพยาบาท ถูกพยาบาทครอบงำอยู่ และไม่รู้จักสลัดพยาบาทอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะพยาบาท ทำพยาบาทไว้ในภายใน มีใจกลัดกลุ้มด้วยถีนมิทธะ ถูกถีนมิทธะครอบงำอยู่และไม่รู้จักสลัดถีนมิทธะอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะถีนมิทธะ ทำถีนมิทธะไว้ในภายใน มีใจกลัดกลุ้มด้วยอุทธัจจกุกกุจจะครอบงำอยู่ และไม่รู้จักสลัดอุทธัจจกุกกุจจะอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะอุทธัจจกุกกุจจะ ทำอุทธัจจกุกกุจจะไว้ในภายใน มีใจกลัดกลุ้มด้วยวิจิกิจฉา ถูกวิจิกิจฉาครอบงำอยู่ และไม่รู้จักสลัดวิจิกิจฉาอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะวิจิกิจฉา ทำวิจิกิจฉาไว้ในภายใน ดูก่อนพราหมณ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นไม่ทรงสรรเสริญฌานเช่นนี้แล

    • @snowman3781
      @snowman3781 9 หลายเดือนก่อน +1

      @@paderm ขอถามต่อครับ แล้วจะกำจัดนิวรณ์5นี้ยังไงหรอครับ แล้วการเพ่งที่ดี ต้องเพ่งอะไรหรอครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +1

      ​@@snowman3781เพ่งที่ดี ไม่มีเราไปเพียรเพ่ง แต่เป็นปัญญาที่เกิดขึ้นรู้ว่าไม่มีเรา รู้ว่าเพ่งอย่างไรจึงดี เมื่อปัญญาไม่เกิด ก็ไม่รู้ว่าจะเพ่งอะไรอย่างไร ศึกษาพระธรรมอย่าพยายามจับพยายามหาคำหาทางลัด ค่อย ๆ ศึกษาด้วยความเคารพพระธรรม ค่อย ๆ รู้จักพระคุณของพระพุทธเจ้าไปทีละเล็กละน้อยตามลำดับ ฟังและไตร่ตรอง ไม่ต้องไปรีบเร่ง ไปหวังว่าจะรู้ พึงเป็นผู้ไม่ประมาท เห็นโทษของความไม่รู้ เห็นโทษของความไม่ใส่ใจที่จะรู้ในทุกขณะ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      @@sabbe.dhamma.anatta ขออนุโมทนาในคำตอบที่ถูกต้องครับ

  • @notenote8489
    @notenote8489 9 หลายเดือนก่อน

    มีธรรมมะที่เป็นอัตตาไหมครับ ขอความเมตตาครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ความเห็นของมารผู้เห็นผิดบอกมีครับ
      ลำดับนั้น มารคิดว่า ชื่อว่าปุรพันธะนี้เป็นสมบัติของเรา แต่พระศาสดาเสด็จไปเรือนเขาวันนี้ ได้ทรงทำให้มรรคปรากฏ เพราะฟังธรรมของพระศาสดาหรือหนอ เพียงที่เราจะรู้ว่า เขาพ้นจากวิสัยของเราหรือยังไม่พ้น จึงเนรมิตรูปละม้ายพระทศพล ทั้งทรงจีวร ทั้งทรงบาตร เสด็จดำเนินโดยอากัปกิริยาของพระพุทธเจ้าทีเดียว ทรงพระลักษณะ ๓๒ ประการ ได้ประทับยืนใกล้ประตูเรือนของปุรพันธอุบาสก.
      แม้ปุรพันธอุบาสกฟังว่า พระทศพลเสด็จมาอีกแล้ว ก็คิดว่า ธรรมดาการเสด็จไปชนิดไม่แน่นอนของพระพุทธะทั้งหลายไม่มีเลย เหตุไรหนอจึงเสด็จมา ดังนี้ แล้วจึงรีบเข้าไปสู่สำนักพระพุทธองค์ด้วยสำคัญว่าพระทศพล กราบแล้วยืน ณ ที่สมควรส่วนข้างหนึ่ง กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ทรงทำภัตกิจเสร็จแล้วในเรือนของข้าพระองค์ ทรงอาศัยเหตุอะไรจึงเสด็จมาอีก.
      มารกล่าวว่า ดูก่อนปุรพันธะ เราเมื่อกล่าวธรรมไม่ทันพิจารณาแล้วกล่าวคำไปข้อหนึ่ง มีอยู่ แท้จริง เรากล่าวไปว่า ปัญจขันธ์ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา หมดทุกอย่าง แต่ความจริงไม่ใช่ทั้งหมดเห็นปานนั้น ด้วยว่า ขันธ์บางจำพวก ที่เที่ยง มั่นคง ยั่งยืน มีอยู่.
      ทีนั้น ปุรพันธอุบาสกคิดว่า เรื่องนี้เป็นเรื่องหนักอย่างยิ่ง ด้วยธรรมดาว่า พระพุทธะทั้งหลายตรัสเป็นคำสองไม่มี จึงคิดใคร่ครวญว่า ขึ้นชื่อว่ามารเป็นข้าศึกของพระทศพล ผู้นี้ต้องเป็นมารแน่ จึงกล่าวว่า ท่านเป็นมารหรือ.

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ไม่มีธรรมใดเป็นอัตตา ครับ แต่ความเห็นของมาร ว่ามีครับ
      วชิราสูตร
      ว่าด้วยมารรบกวนวชิราภิกษุณี
      [๕๕๒] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ :-
      สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับ อยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อาราม ของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี ครั้งนั้น เวลาเช้า วชิราภิกษุณีนุ่งห่มแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไป บิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี เที่ยวบิณฑบาตไปในกรุงสาวัตถีแล้ว เวลาปัจฉาภัต กลับจากบิณฑบาตแล้ว เข้าไปยังป่าอันธวันเพื่อพักกลางวัน ครั้นถึงป่าอันธวันแล้ว จึงนั่งพักกลางวันที่โคนไม้ต้นหนึ่ง
      [๕๕๓] ลำดับนั้น มารผู้มีบาป ใคร่จะให้วชิราภิกษุณีบังเกิดความกลัว ความหวาดเสียว ขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อนจากสมาธิ จึงเข้าไปหาวชิราภิกษุณีถึงที่นั่งพัก ครั้นแล้วได้กล่าวกะวชิราภิกษุณีด้วยคาถาว่า สัตว์นี้ ใครสร้าง ผู้สร้างสัตว์อยู่ ที่ไหน สัตว์บังเกิดในที่ไหน สัตว์ดับไป ในที่ไหน
      [๕๕๔] ลำดับนั้น วชิราภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่ใครหนอกล่าว คาถา จะเป็นมนุษย์หรืออมมุษย์ ทันใดนั้น วชิราภิกษุณีได้มีความดำริว่า นี่คือมารผู่มีบาปใคร่จะให้ เราบังเกิดความกลัว ความหวาดเสียว ขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้ เคลื่อนจากสมาธิ จึงกล่าวคาถา
      ครั้นวชิราภิกษุณีทราบว่า นี่คือมารผู้มีบาป แล้วจึงได้กล่าวกะมาร ผู้มีบาปด้วยคาถาว่า ดูก่อนมาร เพราะเหตุไรหนอ ความเห็นของท่านจึงหวนกลับมาว่าสัตว์ ในกองสังขารล้วนนี้ ย่อมไม่ได้นามว่า สัตว์ เหมือนอย่างว่า เพราะคุมส่วนทั้งหลายเข้า เสียงว่ารถย่อมมี ฉันใด
      เมื่อขันธ์ทั้งหลายยังมีอยู่ การสมมติ ว่าสัตว์ย่อมมี ฉันนั้น ความจริง ทุกข์เท่านั้นย่อมเกิด ทุกข์เท่านั้นย่อมตั้งอยู่และเสื่อมสิ้นไป นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรดับ
      ลำดับนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์ เสียใจว่า วชิราภิกษุณีรู้จักเรา ดังนี้ จึงได้อันตรธานไปในที่นั้นเอง
      จบ วชิราสูตร

  • @สวงไชย์แพน
    @สวงไชย์แพน 6 หลายเดือนก่อน

    ความจริงคืออ่ะไรในการปฎิบัติธรรม

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      อธิบายแล้วในคลิปนี้ คลิกที่ตัวเลขสีฟ้าครับ 05:28 หนทางที่ถูกต้องคือฟังธรรมจนสติและปัญญาเกิดรู้ความจริงในขณะนี้โดยไม่ใช่เราเลือกเจาะจงอนัตตา

  • @ชิษณุพงศ์รัตนพันธุ์-ฐ5บ
    @ชิษณุพงศ์รัตนพันธุ์-ฐ5บ 9 หลายเดือนก่อน

    กำลังปฏิบัติอยู่ เราควรทำอย่างไร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      อธิบายไว้ในคลิปไว้หมดแล้วครับ คลิกที่ตัวเลขสีฟ้าจะไปที่เนื้อหาครับ
      05:28 หนทางที่ถูกต้องคือฟังธรรมจนสติและปัญญาเกิดรู้ความจริงในขณะนี้โดยไม่ใช่เราเลือกเจาะจงอนัตตา
      08:51 อานาปานสติที่ถูกต้องคือมีสภาพธรรมที่ไม่ใช่เราปรากฏตรงลักษณะกับสติปัญญา

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 6 หลายเดือนก่อน

      @@PUDTAMAMAKA ปฏิบัติคืออะไรยังไม่รู้จะไปสอนอะไรเขาให้ปฏิบัติผิด ปฏิบัติอยู่ จะต้องเป็นปัญญาที่ปฏิปัตติ ไม่มีที่ปัญญาจะไม่รู้แล้วถามว่าควรทำอย่างไร ไม่เอาแล้วพระพุทธเจ้าสอนอย่างไรก็แอบอ้างเป็นพุทธมามกะ

  • @chaisitthirawattanasuk368
    @chaisitthirawattanasuk368 9 หลายเดือนก่อน +1

    ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ แล้วฌาณแบบพระโมคคัลลานะคือ สมาธิอย่างไร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ฌาน ๘ ที่แสดงฤทธิ์ได้ แต่ถ้าไม่มีวิปัสสนา การรู้ความจริงของธรรม ที่ไถ่ถอนความยึดถือว่าเป็นเรา ก็ละกิเลลสไม่ได้ แต่ถ้าพระมหาโมคคัลลานะ ได้ฌาน ๘ ด้วย อบรมวิปัสสนาดับกิเลสได้ด้วยครับ

  • @redcatchannel5904
    @redcatchannel5904 3 หลายเดือนก่อน +1

    ❤แล้วจิตยุ่กับอะไรคะถึงจะถูก😊

    • @paderm
      @paderm  3 หลายเดือนก่อน +2

      ฟังคลิกที่ตัวเลขสีฟ้าครับ อธิบายไว้ 05:28 หนทางที่ถูกต้องคือฟังธรรมจนสติและปัญญาเกิดรู้ความจริงในขณะนี้โดยไม่ใช่เราเลือกเจาะจงอนัตตา

  • @กําธรกันทวงศ์
    @กําธรกันทวงศ์ 9 หลายเดือนก่อน

    ฟังไปเรื่อยๆ ไม่ยึด ไม่คิด

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      ไม่มีปัญญารู้อะไร ก็เพียงแค่พูดว่าไม่ยึดติด แต่ไม่มีปัญญาก็ยึดติดแต่ไม่รู้ว่ายึดติดครับ

  • @วนิดาฺอัจฉริยพันธุ์
    @วนิดาฺอัจฉริยพันธุ์ 9 หลายเดือนก่อน +6

    ยอมรับไม่มีปัญญารู้อะไรเลย

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      สาธุในความเห็นถูกและเข้าใจสิ่งที่อธิบายด้วยครับ

  • @น้ําทิพย์บุญถนอม-ป5ฮ
    @น้ําทิพย์บุญถนอม-ป5ฮ 9 หลายเดือนก่อน

    สมาธิอย่างไรถึงถูกต้องคะ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      อธิบายไว้ในคลิปไว้หมดแล้วครับ คลิกที่ตัวเลขสีฟ้าจะไปที่เนื้อหาครับ
      05:28 หนทางที่ถูกต้องคือฟังธรรมจนสติและปัญญาเกิดรู้ความจริงในขณะนี้โดยไม่ใช่เราเลือกเจาะจงอนัตตา
      08:51 อานาปานสติที่ถูกต้องคือมีสภาพธรรมที่ไม่ใช่เราปรากฏตรงลักษณะกับสติปัญญา

  • @comsont
    @comsont 9 หลายเดือนก่อน

    สติที่ถูกต้องคืออะไร
    สัมปชัญญะที่ถ คืออะไร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      อธิบายไว้ในคลิปนี้ครับ th-cam.com/video/i9u1JVN-ISU/w-d-xo.htmlsi=6qqFrCp05sxbS4lQ

  • @nichadedede141
    @nichadedede141 9 หลายเดือนก่อน

    สมาธืเกิดพร้อมปัญญา หมายความว่าเมื่อเริ่มทำสมาธิปัญญาก็เกิดเลยใช่ไหมครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +1

      ไม่ใช่ สมาธิเกิดได้ทั้งกับปัญญาและความเห็นผิด หรือเกิดโดยไม่มีทั้งสองอย่างนั้นก็ได้ แต่เมื่อเกิดจะเกิดพร้อมกัน เพราะเกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต เป็นสภาวะความจริงที่ปรุงแต่งจิตให้มีกิจการงานแตกต่างกันออกไป สมาธิคือความตั้งมั่นอยู่ในสภาพความจริงที่จิตรู้อย่างหนึ่งอย่างใด สภาพที่จิตรู้นี้เรียกว่าอารมณ์ ดังนั้น พอเริ่มทำสมาธิ ก็เป็นความเห็นผิดว่าสภาพความจริงมีเราไปบังคับบัญชาให้เกิดขึ้นได้ ไม่ได้เข้าใจตามความจริงว่าความจริงเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สมาธินั้นก็เกิดขึ้นพร้อมความไม่รู้เห็นผิดนั้น ก็ขวางปัญญาไม่ให้เกิดขึ้นมาได้

    • @คาปูชิโน่ไม่หวาน
      @คาปูชิโน่ไม่หวาน 9 หลายเดือนก่อน

      ​@@sabbe.dhamma.anattaคิดเอาเองหรือใครบอกครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +1

      @@คาปูชิโน่ไม่หวาน ขอเชิญไปศึกษาพระไตรปิฎก แล้วตอบคำถามที่ถามมาด้วยตนเอง

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      @@sabbe.dhamma.anatta ขออนุโมทนาในคำอธิบายที่เห็นถูกต้องด้วยครับ

  • @ชนกนาถวิภวกรณ์
    @ชนกนาถวิภวกรณ์ 9 หลายเดือนก่อน +1

    เอาจิตอยู่กับลมหายใจเข้า-ออก เป็นการเจริญสติปัฏฐานตรงตามที่พระพุทธเจ้าสอนหรือไม่???

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      เลือกรู้ลม(ไม่ใช่สติด้วย)ลืมอนัตตา บังคับไม่ได้ ไม่ใช่เราเลือก สติปัญญาเลือกรู้เอง
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      เอาจิตอยู่กับลม เอาจิตอยู่กับกาย คำแต่งใหม่ไม่มีในพุทธวจนและอธิบายอานาปานสติผิดจึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน
      ปฏิเสธอรรกถาเป็นคำแต่งใหม่ คำที่ตนเองยกพุทธวจนแล้วอธิบายเพิ่มก็คือคำแต่งใหม่เช่นกัน
      ถ้าจะอ้างว่าเอาแต่พุทธวจนทั้งหมด คำอรรถกถาอธิบาย ไม่ใช่พุทธวจน เป็นคำแต่งใหม่ เช่นนั้นแล้ว คำของตนเองที่ยกพุทธวจนแล้วอธิบายออกมา เช่น ยก สติปัฏฐานสูตร หน้านั้น เล่มนี้ ฉบับนี้ แล้วตนเองก็อธิบายเป็นภาษาไทย ให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ คำที่ตนเองอธิบาย นั่นก็คือ ไม่ใช่พุทธวจน เป็นอรรถกถาจารย์เช่นกัน เพราะเป็นคำที่ไม่มีในพระไตรปิฎก เล่มนั้นเล่มนี้ ถ้าจะให้ถูกตามที่ไม่เอาอรรถกถาจารย์ ก็คือ ห้ามพูดต่ออะไรเลย ยกพุทธวจนล้วนๆ นั่นแหละครับ ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม ดังนั้นตนเองก็อธิบายเพิ่มเติม หลังจากยกพุทธวจน ที่ไม่ตรงเป๊ะตามพระไตรปิฎกเช่นกัน นี่คือการเปรียบเทียบให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว คำใดก็ตาม ที่อธิบายโดยภาษาไหน อย่างไร แต่อธิบายความหมายได้ตรงตามคำพระพุทธเจ้า นั่นก็ชื่อว่าคำพระพุทธเจ้า ดังเช่น ในอรณวิภังคสูตร บางประเทศ คำว่า ภาวขนะ ใช้คำนี้ บางประเทศ ภาชนะใช้คำนี้ แต่ภาษาใด คำใดก็ตาม ที่อธิบายให้เข้าใจถึงความจริงของธรรม นั่นเป็นคำพระพุทธเจ้าครับ แต่เอาจิตอยู่กับลมเป็นการเลือกลืมอนัตตา ไม่มีปัญญารู้ความจริง จึงเป็นการยกคำแต่งใหม่และอธิบายผิดด้วย(เป็นสาวกภาษิต) ตรงกันข้ามกับ อรรถกถาจารย์ฺที่อธิบายเพิ่มขยายความในพุทธวจน โดยสอดคล้องกับอนัตตา จึงเป็นคำพระพุทธเจ้า ไม่ใช่สาวกภาษิตนั่นเองครับ
      อรณวิภังคสูตร
      [๖๖๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญเสีย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่าปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หนะ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดปรักปรำโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะนั้นกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ ตามกำลังและความแน่ใจว่า นี้เท่านั้นจริง อื่นเปล่าอย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า
      หนะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ อย่างไม่ใช่ความแน่ใจว่า เป็นอันท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พูดแก่ข้าพเจ้าหมายถึงภาชนะนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญ นั่นเราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ

    • @nobody2022
      @nobody2022 9 หลายเดือนก่อน +1

      ไม่มีปัญญาอะไรแค่นั่งตั้งใจกับลมที่เข้าออก ไม่ได้เป็นสติปัฏฐานหรอก การปฏิบัติธรรมมันไม่ง่ายขนาดนั้น ปัญญาขั้นฟังยังไม่มีเลย

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      @@nobody2022 สาธุครับ

  • @yaneenatchaownammong1690
    @yaneenatchaownammong1690 9 หลายเดือนก่อน +3

    🌿☘️☘️☘️🙏

  • @chairatklamsanong1189
    @chairatklamsanong1189 9 หลายเดือนก่อน

    สวัสดีครับอาจารย์ผมศึกษาพุทธวัชจะนะ อยากสอบถามอาจารย์ว่าการศึกษาธรรมะที่ถูกต้องคือฟังแล้วต้องเข้าใจ ใช่ไหมครับ ,
    ไม่ว่าจะเป็นคำภาษาไทยภาษาอังกฤษหรือบาหลีแต่วัตถุประสงค์คือต้องให้เข้าใจให้ตรงกับสิ่งที่ศาสดาอธิบายถูกไหมครับอาจารย์ และถ้าเข้าใจจริงๆแล้วมันถึงจะเกิดปัญญาต่อมาใช่ไหมครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ปัญหาคือศึกษาพุทธวจน อ้างพุทธพุทธวจน แต่อธิบายผิดและรับฟังสิ่งที่ผิด แล้วถูกอ้างว่าเป็นพุทธวจน คนก็หลงเชื่อเพราะไม่ได้พิจารณาคำจริงจากพระสูตรอื่นๆมาเทียบเคียง คนก็เลยอยากได้อานิสงส์จากอานาปานสติ แต่สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ เพราะเข้าใจผิดอธิบายผิดดังนี้ เชิญอ่านครับ ดังนั้น พระศาสดาอธิบายอย่างไร ต้องสอดคล้องกับพระสูตรอื่นและไม่ขัดแยงกับคำว่าอนัตตา ซึ่งก็เป็นพระพุทธพจน์เช่นกันครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      เลือกรู้ลม(ไม่ใช่สติด้วย)ลืมอนัตตา บังคับไม่ได้ ไม่ใช่เราเลือก สติปัญญาเลือกรู้เอง
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      คนสนใจธรรมกันมากแต่ไม่ศึกษาธรรมโดยละเอียด ฟังตามๆกันมาเขาบอกให้ทำก็ทำ โดยอ้างคำพระพุทธเจ้าแต่อธิบายผิดจึงเป็นสาวกภาษิต อธิบายผิดสี่ประการนี้ จึงกล่าวด้วยความหวังดีครับ เปิดใจรับฟังไม่ยึดติดครูอาจารย์จะรู้ว่าสิ่งที่ทำผิดหรือถูก ซึ่งก็แล้วแต่การสะสมปัญญามาหรือไม่ อย่าจากไปด้วยการปฏิบัติผิด ครับ สิ่งที่ลืมและเข้าใจผิด คือ
      ข้อที่ ๑ เข้าใจสมาธิผิดว่า ถ้าเป็นสมาธิแล้วดีหมด(จดจ่อที่ลม)ทรงแสดงมิจฉาสมาธิด้วย #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร
      ข้อที่ ๒ ลืมเรื่องปัญญา : จดจ่อลมนิ่ง ไม่มีปัญญารู้อะไร(ไม่สงบจากโมหะ) สิ่งที่ควรรู้ยิ่ง #ทุติยปหานสูตร (พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องของปัญญา)
      ข้อที่ ๓ ลืมอนัตตา : ธรรมบังคับไม่ได้ สติเป็นธรรม เลือกอารมณ์ นั่นคือโลภะ(นันทิ)เลือก ไม่ใช่สติ
      ข้อที่ ๔ เอาจิตอยู่กับลม : คำแต่งใหม่ไม่มีในพระไตรปิฎก จึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน#อาณีสูตร
      ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      หนทางที่ถูกต้อง ไม่ใช่ไปกำหนดลม ครับ ฟังพระธรรมให้เข้าใจในความเป็นธรรม อบรมปัญญาขั้นการฟัง ก็จะจำไปสู่การคิดถูก และสู่การปฏิบัติถูก คือ สติระลึกรู้ลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฎ โดยไม่มีเราเลืกแล้วแต่สติ ซึ่งกว่าจะถึงตรงนั้นต้องอบรมปัญญายาวนานนับชาติไม่ถ้วน ขอให้เริ่มใหม่ อย่าไปทางผิด โดยการอ้างคำพระศาสดาแต่อธิบายผิดตามที่กล่าวมา เราเกิดมาชาติเดียว แต่ปฏิบัติ อันตรายมากโดยไม่รู้ตัวครับ
      หนทางที่ถูกต้องคืออย่างไร
      การฟังพระธรรมให้เข้าใจ เริ่มตั้งแต่ธรรมคือะไร ปัญญาจะทำหน้าที่ปฏิบัติเอง ไม่มีเรา ครับ
      ทุติยสาริปุตตสูตร
      ว่าด้วยองค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา
      [๑๔๒๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามท่านพระสารีบุตรว่า ดูก่อนสารีบุตร ที่เรียกว่า โสตาปัตติยังคะ (๑) ๆ ดังนี้ โสตาปัตติยังคะเป็นไฉน.
      [๑๔๒๘] ท่านพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ การคบสัตบุรุษ ๑ สัทธรรมสวนะ ฟังคำสั่งสอนของท่าน ๑ โยนิโสมนสิการ กระทำไว้ในใจโดยอุบายที่ชอบ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑.
      [๑๔๒๙] พ. ถูกละๆ สารีบุตร โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ ๑ สัทธรรมสวนะ ๑ โยนิโสมนสิการ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑.
      การบอกคำพระพุทธเจ้า แล้วอธิบายถูก ตรงตามธรรม โดยมีความเข้าใจถูกเป็นพื้นฐานที่ถูกต้อง คือ ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ เกิดจากเหตุปัจจัย ไม่ใช่เรา แต่ถ้าไม่เข้าใจตรงนี้ ยกพุทธวจนมา แล้วก็บอกว่าเห็นไหม พระพุทธเจ้าบอกให้ทำ ใครทำ ไม่มีความเข้าใจตั้งแต่ต้น ธรรมคืออะไร ขณะนี้มีธรรไหม ก็ทำผิด ลืมว่าธรรมทำหน้าที่ ไม่ใช่เราทำ ดังนั้นก็มีบุคคลทั้งสองแบบ คือ กล่าวคำพระพุทธเจ้า อธิบายถูก และ กล่าวคำพระพุทธเจ้าแล้วอธิบายผิด ก็เป็นไปตามปัจจัย ตามธรรม ตามการสะสม ไม่มีเรา มีแต่ความเห็นถูกและความเห็นผิด ครับ

  • @PcxRtx
    @PcxRtx 9 หลายเดือนก่อน

    ศาสนาพุทธเถรวาท กับ มหายาน ต่างกันยังไงครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ในความเป็นจริงหลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าดับขันธปรินิพพานแล้วนั้น ประมาณ ๑๐๐ ปี พระภิกษุในพระพุทธศาสนาก็มีความเห็นแตกต่างกัน จึงมีการแบ่งแยกกันเป็น ๒ กลุ่มใหญ่คือผู้ที่ถือตามพระไตรปิฎกที่มีพระอรหันตรวบรวมสังคายนา ตั้งแต่พระมหากัสปะเป็นต้นมา เรียกตัวเองว่า เถรวาท อีกกลุ่มหนึ่งถือตามอาจารย์ของตน เรียกว่าอาจาริยวาท
      กาลต่อมา นิกายอาจาริยวาท มีการแตกแยกไปหลายนิกาย และมีชื่อเรียกพระภิกษุนิกายอาจาริยวาทว่า มหายาน เรียก นิกายเถรวาท ว่าหินยานในอรรถกถากถาวัตถุกล่าวว่า นิกายเถรวาทไม่มีความเห็นแตกแยก ถือตามพระไตรปิฎก แต่นิกายมหายาน ในกาลต่อมา มีการแตกแยกความเห็นเป็นจำนวนมากนั่นเองครับ

  • @ผ่องพรมปาวงศ์
    @ผ่องพรมปาวงศ์ 9 หลายเดือนก่อน

    1,2,3

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      ฟังธรรม เข้าใจ ปัญญาเกิด ครับ
      หนทางที่ถูกต้องคืออย่างไร
      การฟังพระธรรมให้เข้าใจ เริ่มตั้งแต่ธรรมคือะไร ปัญญาจะทำหน้าที่ปฏิบัติเอง ไม่มีเรา ครับ
      ทุติยสาริปุตตสูตร
      ว่าด้วยองค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา
      [๑๔๒๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามท่านพระสารีบุตรว่า ดูก่อนสารีบุตร ที่เรียกว่า โสตาปัตติยังคะ (๑) ๆ ดังนี้ โสตาปัตติยังคะเป็นไฉน.
      [๑๔๒๘] ท่านพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ การคบสัตบุรุษ ๑ สัทธรรมสวนะ ฟังคำสั่งสอนของท่าน ๑ โยนิโสมนสิการ กระทำไว้ในใจโดยอุบายที่ชอบ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑.
      [๑๔๒๙] พ. ถูกละๆ สารีบุตร โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ ๑ สัทธรรมสวนะ ๑ โยนิโสมนสิการ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑.
      การบอกคำพระพุทธเจ้า แล้วอธิบายถูก ตรงตามธรรม โดยมีความเข้าใจถูกเป็นพื้นฐานที่ถูกต้อง คือ ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ เกิดจากเหตุปัจจัย ไม่ใช่เรา แต่ถ้าไม่เข้าใจตรงนี้ ยกพุทธวจนมา แล้วก็บอกว่าเห็นไหม พระพุทธเจ้าบอกให้ทำ ใครทำ ไม่มีความเข้าใจตั้งแต่ต้น ธรรมคืออะไร ขณะนี้มีธรรไหม ก็ทำผิด ลืมว่าธรรมทำหน้าที่ ไม่ใช่เราทำ ดังนั้นก็มีบุคคลทั้งสองแบบ คือ กล่าวคำพระพุทธเจ้า อธิบายถูก และ กล่าวคำพระพุทธเจ้าแล้วอธิบายผิด ก็เป็นไปตามปัจจัย ตามธรรม ตามการสะสม ไม่มีเรา มีแต่ความเห็นถูกและความเห็นผิด ครับ

  • @จอมใจหมื่นนรา-ฆ5ฑ
    @จอมใจหมื่นนรา-ฆ5ฑ 9 หลายเดือนก่อน

    นั่งสมาธิก็เป็นความยาก หายใจก็ก็เป็นความยาก😂😂

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      เพราะไม่มีปัญญารู้อะไร จดจ้องลม อยากสงบ ทำสมาธิ ทั้งหมดครับ ไม่มีปัญญา นั่นคือทางผิดครับ จึงมี สมาธิที่ถูกและสมาธิที่ผิดนั่นเองครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      เข้าใจสมาธิใหม่ดังนี้ครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

  • @talion4381
    @talion4381 9 หลายเดือนก่อน

    ใช้อรรถกถา อธิบายพุทธวจน เท่ากับเรียนพระธรรม จากบูรพาจารย์

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      ยกพุทธวจน มาอธิบายครับ เพราะไม่ฟังจึงไม่รู้นั่นเองครับ มีพระสูตรอ้างอิงดังนี้
      คนสนใจธรรมสนใจปฏิบัติกันมากแต่สิ่งที่ลืมและเข้าใจผิด คือ
      ข้อที่ ๑ เข้าใจสมาธิผิดว่า ถ้าเป็นสมาธิแล้วดีหมด(จดจ่อที่ลม)ทรงแสดงมิจฉาสมาธิด้วย #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร
      ข้อที่ ๒ ลืมเรื่องปัญญา : จดจ่อลมนิ่ง ไม่มีปัญญารู้อะไร(ไม่สงบจากโมหะ) สิ่งที่ควรรู้ยิ่ง #ทุติยปหานสูตร (พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องของปัญญา)
      ข้อที่ ๓ ลืมอนัตตา : ธรรมบังคับไม่ได้ สติเป็นธรรม เลือกอารมณ์ นั่นคือโลภะ(นันทิ)เลือก ไม่ใช่สติ
      ข้อที่ ๔ เอาจิตอยู่กับลม : คำแต่งใหม่ไม่มีในพระไตรปิฎก จึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน#อาณีสูตร
      จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็นลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิเป็นอย่างไร และ มิจฉาสมาธิเป็นอย่างไร ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      เอาจิตอยู่กับลม เอาจิตอยู่กับกาย คำแต่งใหม่ไม่มีในพุทธวจนและอธิบายอานาปานสติผิดจึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน
      ปฏิเสธอรรกถาเป็นคำแต่งใหม่ คำที่ตนเองยกพุทธวจนแล้วอธิบายเพิ่มก็คือคำแต่งใหม่เช่นกัน
      ถ้าจะอ้างว่าเอาแต่พุทธวจนทั้งหมด คำอรรถกถาอธิบาย ไม่ใช่พุทธวจน เป็นคำแต่งใหม่ เช่นนั้นแล้ว คำของตนเองที่ยกพุทธวจนแล้วอธิบายออกมา เช่น ยก สติปัฏฐานสูตร หน้านั้น เล่มนี้ ฉบับนี้ แล้วตนเองก็อธิบายเป็นภาษาไทย ให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ คำที่ตนเองอธิบาย นั่นก็คือ ไม่ใช่พุทธวจน เป็นอรรถกถาจารย์เช่นกัน เพราะเป็นคำที่ไม่มีในพระไตรปิฎก เล่มนั้นเล่มนี้ ถ้าจะให้ถูกตามที่ไม่เอาอรรถกถาจารย์ ก็คือ ห้ามพูดต่ออะไรเลย ยกพุทธวจนล้วนๆ นั่นแหละครับ ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม ดังนั้นตนเองก็อธิบายเพิ่มเติม หลังจากยกพุทธวจน ที่ไม่ตรงเป๊ะตามพระไตรปิฎกเช่นกัน นี่คือการเปรียบเทียบให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว คำใดก็ตาม ที่อธิบายโดยภาษาไหน อย่างไร แต่อธิบายความหมายได้ตรงตามคำพระพุทธเจ้า นั่นก็ชื่อว่าคำพระพุทธเจ้า ดังเช่น ในอรณวิภังคสูตร บางประเทศ คำว่า ภาวขนะ ใช้คำนี้ บางประเทศ ภาชนะใช้คำนี้ แต่ภาษาใด คำใดก็ตาม ที่อธิบายให้เข้าใจถึงความจริงของธรรม นั่นเป็นคำพระพุทธเจ้าครับ แต่เอาจิตอยู่กับลมเป็นการเลือกลืมอนัตตา ไม่มีปัญญารู้ความจริง จึงเป็นการยกคำแต่งใหม่และอธิบายผิดด้วย(เป็นสาวกภาษิต) ตรงกันข้ามกับ อรรถกถาจารย์ฺที่อธิบายเพิ่มขยายความในพุทธวจน โดยสอดคล้องกับอนัตตา จึงเป็นคำพระพุทธเจ้า ไม่ใช่สาวกภาษิตนั่นเองครับ
      อรณวิภังคสูตร
      [๖๖๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญเสีย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่าปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หนะ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดปรักปรำโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะนั้นกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ ตามกำลังและความแน่ใจว่า นี้เท่านั้นจริง อื่นเปล่าอย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า
      หนะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ อย่างไม่ใช่ความแน่ใจว่า เป็นอันท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พูดแก่ข้าพเจ้าหมายถึงภาชนะนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญ นั่นเราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ

    • @talion4381
      @talion4381 9 หลายเดือนก่อน

      @@paderm อธิบายอานาปานสติ ผิดแน่นอนครับถ้า
      - สอนให้จดจ้อง
      - สอนให้เลือกอารมณ์
      - สอนจบ แค่ขั้นรู้ลม ไม่สอนอานาปานสติหมวด เวทนา จิต ธรรม ให้ครบถ้วน

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      เลือกอารมณ์ก็ผิดแล้วครับ ลืมอนัตตา ดังนั้นเลือกรู้ลม จึงผิดครับ

    • @talion4381
      @talion4381 9 หลายเดือนก่อน +1

      อานาปานสติขั้นต้น ใช้ข้อความในพระไตรปิฎกตรงๆ ก็ได้ คำสอนว่า ...หายเข้าสั้นก็รู้.. (ละถึง)..หายใจออกยาวก็รู้ว่าหายใจออกยาว... ยังไม่มีศัพท์ยาก ไม่ต้องแต่งคำใหม่มาอธิบาย ถ้าไปแต่งเติมให้มี "จดจ้อง" หรือ "เลือกอารมณ์" นอกจากผิดแล้วยังทำให้เข้าใจยากขึ้น

  • @nirandrpanyachaipipat8566
    @nirandrpanyachaipipat8566 9 หลายเดือนก่อน

    เมื่อเอาสติอยู่กับกายแล้ว สามารถเห็นเวทนา จิต ธรรม พร้อมกันได้หรือไม่ครับ

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      ผิดตั้งแต่เริ่มครับ ใช้คำผิด ที่ว่า เอาสติอยู่กับกาย นั่นคือ เราเลือก ลืม ธรรมเบื้องต้นว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ สติเป็นธรรม สติเป็นอนัตตา ดังนั้นจึงไม่ใช่สติ แต่เป็นโลภะที่จดจ้อง ไม่ใช่สติในพระพุทธศาสนา ครับ ขอให้เริ่มต้นฟังธรรมใหม่ในคลิปที่อธิบายครับ

  • @thakurtantithamsakul3255
    @thakurtantithamsakul3255 9 หลายเดือนก่อน

    ตลกดี เป้าหมายหลักคือทำอย่างไรไม่ให้จิตปรุงแต่ง

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      เราเข้าใจคำว่า ปรุงแต่งผิดตั้งแต่ต้นครับ เข้าใจใหม่ดังนี้
      อย่าปรุงแต่ง คำที่ใช้กันผิด และเป็นคำที่เห็นผิด นอกพระพุทธศาสนา
      เพราะไม่เข้าใจธรรมทีละคำ ตามคำพระพุทธเจ้า ปรุงแต่งก็ไม่รู้ว่าคืออะไร สังขาร คือ สิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่งจึงเกิดขึ้น อะไรเกิด ธรรมเกิด ไม่ใช่เราเกิด ดังนั้น เรามักข้าใจว่า อย่าปรุงแต่ง คือ อย่าโกรธ อย่าชอบ ให้เห็นเฉยๆ แต่ความจริงเมื่อใดที่ธรรมเกิด เมื่อนั้นปรุงแต่งแล้ว มีการปรุงแต่งของธรรมที่เกิดขึ้น ทั้งจิตเกิด จิตก็เป็นสังขารธรรม เป็นธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเกิดขึ้น จิตจึงเกิด ดังนั้นพระอรหันต์ไม่มีกิเลสแล้ว ไม่โกรธ ไม่ชอบ ไม่ติดข้อง แต่ก็มีการปรุงแต่งเกิดขึ้นของธรรม ดังนั้น อย่าปรุงแต่ง ก็เป็นคำผิดตั้งแต่ต้น และก็มีสภาพธรรมที่ปรุงแต่งจิต คือ เจตสิกธรรม เช่น ปัญญา ความรู้สึก(เวทนา) ปรุงแต่ให้จิตดี ไม่ดี เป็นต้น ดังนั้น พระอรหันต์ก็มีปัญญา ท่านก็มีธรรมที่ปรุงแต่ง ท่านมีความรู้สึก เวทนา จิตเกิดเมื่อไหร่ก็มีเจตสิกปรุงแต่งจิตแล้ว ดันั้นกำลังปรุงแต่งอยู่ทุกขณะ ไม่มีใครห้ามได้ แม้พระพุทธเจ้า พระอรหันต์ก็มี
      อย่าปรุงแต่ง คำที่ขัดแย้งอนัตตา อธิบายผิดว่า อย่าไปโกรธ อย่าไปติดข้อง ให้อยู่กับลม ให้เฉยๆ สักแต่ว่ารู้ ไม่มีปัญญาเข้าใจอะไรเลย พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องของปัญญา ไปอยู่กับลม ปัญญารู้อะไร ให้เฉยๆ เฉยแล้วปัญญารู้อะไร รู้ไหมว่า ความรู้สึกเฉยๆ อุเบกขาเวทนาเกิดกับโมหะความไม่รู้ได้ เฉยๆ ไม่มีปัญญา ก็โมหะความไม่รู้ อย่าไปติดข้อง ห้ามกิเลสได้ไหม ก็ลืมความเป็นธรรมเป็นอนัตตา หนทางที่ถูก คือ เข้าใจสิ่งที่เกิดแล้วว่าเป็นธรรม นี่คือหนทางละความไม่รู้และความยึดถือว่าเป็นเรา

  • @tottiki
    @tottiki 9 หลายเดือนก่อน

    ยกพระไตรปิดกมาเปรียบเทียบหน่อย

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +3

      อธิบายไว้หมดในคลิปและอ้างอิงพระไตรปิฎกด้วยครับ

  • @w3331213
    @w3331213 9 หลายเดือนก่อน

    เอาสั้นๆ นะ จะฟัง

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +1

      คนฟังสั้นๆ คือ ผู้มีปัญญามาก ผู้มีปัญญาน้อยต้องฟังอบรมยาวนานครับ ถ้ายังไม่รู้จักว่า สมาธิคืออะไร สงบคืออะไร สั้นๆก็ทำผิดนั่นเองครับ

  • @Show-yx1wz
    @Show-yx1wz 9 หลายเดือนก่อน +2

    โดนสอนผิดๆมาตั้งแต่เด็ก สอนตั้งแต่ใน รร ไปวัดนั่งสมาธิครั้งแรกก็โดนสอนผิดอีก ธรรมะเสียหายหมดแล้ว

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +4

      สาธุอนุโมทนาในความเห็นถูกด้วยครับ เพราะคนเข้าใจสมาธิกันผิดๆครับ คิดว่านิ่ง จดจ่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดคือดีหมดครับเพราะไม่ศึกษา พุทธวจน ให้ละเอียดลึกซึ้งครับ

  • @arpapatpaktanakanok4663
    @arpapatpaktanakanok4663 3 หลายเดือนก่อน +2

    🌳🌲🐦🦆🌺

  • @ขุนเขาแห่งความสงบ
    @ขุนเขาแห่งความสงบ 9 หลายเดือนก่อน +1

    ใช่ครับ ต้องใช้ปัญญาด้วย

    • @paderm
      @paderm  9 หลายเดือนก่อน +2

      คลิกที่ตัวเลขสีฟ้าจะไปที่เนื้อหาครับ จะรู้ว่าปัญญารู้อะไร 05:28 หนทางที่ถูกต้องคือฟังธรรมจนสติและปัญญาเกิดรู้ความจริงในขณะนี้โดยไม่ใช่เราเลือกเจาะจงอนัตตา

  • @เกรียงไกรดิษปัญญา
    @เกรียงไกรดิษปัญญา 9 หลายเดือนก่อน +1

    เอาจิตเข้าไปรู้

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 9 หลายเดือนก่อน +4

      ยังเห็นว่าเอาจิตเข้าไปรู้ คือเห็นผิดว่ามีตนไปบังคับบัญชาให้จิตไปรู้สิ่งหนึ่งสิ่งใด ควรพิจารณาตามจริงและเห็นโทษความเห็นนี้

    • @nobody2022
      @nobody2022 9 หลายเดือนก่อน +5

      ไม่ต้องเอา จับวาง เอาไปอยู่กับกาย จิตเขาก็รู้ของเขาเองอยู่ตลอดเวลาทั้ง 6 ทวาร ไม่มีใครไปบังคับทำอะไรได้