ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ขออนุญาตถามเพิ่มอีกนิดนะครับพี่ของไหลอื่นๆ เช่น gas มีคุณสมบัติแรงหนืด แรงตึงผิว แรงลอยตัว ด้วยมั๊ยครับ
จากการหาข้อมูลเพิ่มเติมมาของไหล ที่เป็น แก๊สมี 1.แรงหนืด : ความหนืดของแก๊สคือการวัดความต้านทานต่อการไหลของแก๊ส2. แรงลอยตัว : แรงลอยตัวของอากาศคือแรงขึ้นที่กระทำต่อวัตถุโดยอากาศซึ่งวัตถุถูกแทนที่แก๊สไม่มีแรงตึงผิว : แรงตึงผิวเกิดขึ้นจากแรงดึงดูดที่คงอยู่ระหว่างโมเลกุล แก๊สถูกกำหนดโดยการไม่มีแรงระหว่างโมเลกุลโดยสิ้นเชิง เช่น แก๊สอุดมคติ แก๊สจึงสามารถเคลื่อนที่อย่างอิสระ ต่างจากของเหวที่มีแรงยืดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่า เคลื่อนที่รอบๆ โมเลกุลข้างเคียง ค่ะ
สงสัยครับ แรงตึงผิวที่เราคำนวณจากสูตร เป็น cohesive force หรือ adhesive force หรอครับ
Cohesive ค่ะที่มา www.chem.purdue.edu/gchelp/liquids/tension.html#:~:text=The%20surface%20tension%20of%20a,only%20net%20inward%20cohesive%20forces.
@@INKLab ขอบคุณครับครู แต่ผมยังสับสนจากสูตร F=แกมม่า(L) เหมือนว่าจะคำนวณแรง adhesive เลยครับจากวัตถุยาว L แบบนี้ถ้า L = 0 ก็ไม่มีแรงตึงผิวเลย หรอ ครับ งงๆ
ทำไม หลอดใหญ่ๆเช่นหลอดดูดน้ำ ไม่เกิด capillary action ครับ
หลอดมีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า โมเลกุลของน้ำตรงกลางหลอดมีมากกว่า(มากๆ)เมื่อเทียบกับโมเลกุลน้ำที่ติดกับหลอด ทำให้แรงดึงดูดระหว่างน้ำกับน้ำ (โคฮีชั่น) มากกว่าแรงดึงดูดระหว่างน้ำกับหลอด (แอดฮีชั่น) มากๆค่ะ น้ำเลยขึ้นไปตามหลอดไม่ได้ค่ะ ถ้าไม่ใช้แรงดูดจากภายนอก
@@INKLab อ้อครับขอบคุณมากครับ กระจ่างเลย
ความหนืดมีประโยชน์ยังไงครับ หาในเน็ตไม่มีเลย
นำไปใช้ในการทำสารหล่อลื่นให้เหมาะสมกับเครื่องยนต์ชนิดต่าง ๆ จ้า
พี่ครับขอปรากฏการณ์แคมพิลลารีหน่อยครับ
อยู่ในวีดีโอนี้จ้า ลองดูๆ ☺️
ไม่มีการคำนวณเกี่ยวกับ เเรงหนืดเลยหรอครับ
สสวท 2560 ไม่มีคำนวณแรงหนืดจ้า
@@INKLab อ๋อ ขอบคุณครับ
ทำไม0.7 ถึงหาร2หรอคะ
โจทย์ให้เส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 0.7 แต่ในสูตรต้องใช้รัศมีในการคิด เลยต้องหาร2ค่ะ
พี่คะทำไมปรอทถึงมีแรงตึงผิวมากกว่าน้ำคะ
แรงยึดเหนี่ยวของปรอทเป็นแพันธะโลหะ แข็งแรงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ำซึ่งเป็นพันธะไฮโดรเจน ค่ะ
ขออนุญาตถามเพิ่มอีกนิดนะครับพี่
ของไหลอื่นๆ เช่น gas มีคุณสมบัติ
แรงหนืด แรงตึงผิว แรงลอยตัว ด้วยมั๊ยครับ
จากการหาข้อมูลเพิ่มเติมมา
ของไหล ที่เป็น แก๊ส
มี
1.แรงหนืด : ความหนืดของแก๊สคือการวัดความต้านทานต่อการไหลของแก๊ส
2. แรงลอยตัว : แรงลอยตัวของอากาศคือแรงขึ้นที่กระทำต่อวัตถุโดยอากาศซึ่งวัตถุถูกแทนที่
แก๊สไม่มีแรงตึงผิว : แรงตึงผิวเกิดขึ้นจากแรงดึงดูดที่คงอยู่ระหว่างโมเลกุล แก๊สถูกกำหนดโดยการไม่มีแรงระหว่างโมเลกุลโดยสิ้นเชิง เช่น แก๊สอุดมคติ แก๊สจึงสามารถเคลื่อนที่อย่างอิสระ ต่างจากของเหวที่มีแรงยืดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่า เคลื่อนที่รอบๆ โมเลกุลข้างเคียง ค่ะ
สงสัยครับ แรงตึงผิวที่เราคำนวณจากสูตร เป็น cohesive force หรือ adhesive force หรอครับ
Cohesive ค่ะ
ที่มา www.chem.purdue.edu/gchelp/liquids/tension.html#:~:text=The%20surface%20tension%20of%20a,only%20net%20inward%20cohesive%20forces.
@@INKLab ขอบคุณครับครู แต่ผมยังสับสนจากสูตร F=แกมม่า(L) เหมือนว่าจะคำนวณแรง adhesive เลยครับจากวัตถุยาว L แบบนี้ถ้า L = 0 ก็ไม่มีแรงตึงผิวเลย หรอ ครับ งงๆ
ทำไม หลอดใหญ่ๆเช่นหลอดดูดน้ำ ไม่เกิด capillary action ครับ
หลอดมีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า โมเลกุลของน้ำตรงกลางหลอดมีมากกว่า(มากๆ)เมื่อเทียบกับโมเลกุลน้ำที่ติดกับหลอด ทำให้แรงดึงดูดระหว่างน้ำกับน้ำ (โคฮีชั่น) มากกว่าแรงดึงดูดระหว่างน้ำกับหลอด (แอดฮีชั่น) มากๆค่ะ น้ำเลยขึ้นไปตามหลอดไม่ได้ค่ะ ถ้าไม่ใช้แรงดูดจากภายนอก
@@INKLab อ้อครับขอบคุณมากครับ กระจ่างเลย
ความหนืดมีประโยชน์ยังไงครับ หาในเน็ตไม่มีเลย
นำไปใช้ในการทำสารหล่อลื่นให้เหมาะสมกับเครื่องยนต์ชนิดต่าง ๆ จ้า
พี่ครับขอปรากฏการณ์แคมพิลลารีหน่อยครับ
อยู่ในวีดีโอนี้จ้า ลองดูๆ ☺️
ไม่มีการคำนวณเกี่ยวกับ เเรงหนืดเลยหรอครับ
สสวท 2560 ไม่มีคำนวณแรงหนืดจ้า
@@INKLab อ๋อ ขอบคุณครับ
ทำไม0.7 ถึงหาร2หรอคะ
โจทย์ให้เส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 0.7 แต่ในสูตรต้องใช้รัศมีในการคิด เลยต้องหาร2ค่ะ
พี่คะทำไมปรอทถึงมีแรงตึงผิวมากกว่าน้ำคะ
แรงยึดเหนี่ยวของปรอทเป็นแพันธะโลหะ แข็งแรงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ำซึ่งเป็นพันธะไฮโดรเจน ค่ะ