ที่สุดข่าววิทยาศาสตร์ รอบปี 2566 Part 1/2 | ScienceCloud ตอนพิเศษ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 1 มิ.ย. 2024
  • ข่าวเด่นวิทยาศาสตร์ รอบปี 2566 Part 1 I The Cube Podcast
    00:00 เริ่มรายการ จันทรายาน-3 ของอินเดียลงจอดดวงจันทร์
    03:48 นาซาเก็บตัวอย่างดาวเคราะห์น้อยเบนนู กลับสู่โลกสำเร็จ!!
    09:08 ปีแห่งการวิเคราะห์ UFO
    12:30 เทคโนโลยีป้องกันอาวุธสงคราม Iron dome
    17:23 สารสถานะใหม่ “ของเหลวโบซแบบไครัล”
    20:39 โลกร้อน สู่ โลกเดือด และการประชุม COP28 ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
    26:45 รอติดตามข่าววิทยาศาสตร์รอบปี คลิปถัดไป Part 2/2
    “ร่วมสื่อสารวิทยาศาสตร์ด้วยข่าววิทยาศาสตร์”
    #แห่งปี #สื่อสารวิทยาศาสตร์ #วิทยาศาสตร์ #ล่าสุด #ข่าวใหม่ #ข่าวเด่น #nsmthailand #สรุปข่าววิทย์ #UFO
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 12

  • @sornllt8681
    @sornllt8681 4 หลายเดือนก่อน

    สนุกมากค่ะ

    • @NSMThailand
      @NSMThailand  4 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณค่า สนใจสนับสนุนรายการติดต่อตามเบอร์โทรในคำอธิบายใต้คลิปได้เลยนะคะ

  • @waree_channel
    @waree_channel 4 หลายเดือนก่อน

    1

  • @AdNZNBMLBML
    @AdNZNBMLBML 4 หลายเดือนก่อน

    9:11 ทำไมระบบสุริยะเราถึงมีแทบไคท์เปอร์ถึง2ชั้นเลยอ่ะคัฟ ผมเพิ่งมารู้ช่วงหลังๆนี้ เพราะเด่วนี้มีแบบจำลองระบบสุริยะ จริงไหมที่มีแทบไคท์เปอร์ถึง2วง

    • @NSMThailand
      @NSMThailand  4 หลายเดือนก่อน

      ปกติแล้วแถบไคเปอร์ (เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป) จะเป็นก้อนวัตถุแข็ง น้ำแข็ง ที่สันนิษฐานว่าหลงเหลือจากการฟอร์มตัวของระบบสุริยะ ไม่สามารถรวมเป็นดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดาวใกล้เคียง คล้ายแถบดาวเคราะห์น้อยโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุในแถบไคเปอร์ที่สำรวจพบ จะหนาแน่นมากๆ ในช่วง 30-50 AU จากดวงอาทิตย์ (1 AU = ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร)
      แต่ในปี 2020 และ 2021 มีการสำรวจเพิ่มเติมจากทีม New Horizons ของนาซ่า และกล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดิน พบความหนาแน่นของวัตถุก้อนน้ำแข็งอีกครั้งที่ระยะทางประมาณ 60-80 AU จึงเป็นข้อสันนิษฐานว่า อาจจะมีไคเปอร์เบลท์วงที่ 2 ค่ะ (เหตุผลว่าทำไมมีไคเปอร์เบลท์ 2 ชั้น แอดขอไปหาข้อมูลก่อนนะคะ แต่คิดว่าส่วนหนึ่งน่าจะเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงจากดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ใกล้ๆ ค่ะ)

  • @prasitjirapaithoon5760
    @prasitjirapaithoon5760 5 หลายเดือนก่อน

    ผมว่าพวกคุนคิดผิดนะที่บอกว่าด้านมืดของดวงจันไม่มีแสงอาทิตส่องถึงลองไปหาข้อมุลใหม่นะครับ

    • @NSMThailand
      @NSMThailand  5 หลายเดือนก่อน +3

      จากในรายการ ที่บอกว่าไม่ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์นั้น
      จะหมายถึงส่วนบริเวณขั้วใต้ของดวงจันทร์นะคะ
      ไม่ได้หมายถึงด้านหลัง หรือด้านมืดของดวงจันทร์ค่ะ
      ซึ่งถูกต้องเลยค่ะ ด้านมืดของดวงจันทร์ จะมีช่วงที่หันหลังเข้าหาดวงอาทิตย์อยู่เป็นประจำ ทำให้มันไม่ได้มืดตลอดเวลา
      *** แต่ในบริเวณขั้วใต้ของดวงจันทร์ที่กล่าวถึงในรายการนั้น จะมีหลุมอุกาบาตลึก (Crater) บางแห่งที่ไม่โดนแสงอาทิตย์โดยตรงเลย
      นาซ่าส่งยาน Lunar Reconnaissance Orbiter ไปโคจรและวัดอุณหภูมิบริเวณนั้น พบว่ามีอุณหภูมิต่ำได้ถึง -243 องศาเซลเซียสเลยค่ะ ***

    • @jomza3897
      @jomza3897 5 หลายเดือนก่อน

      จังเข้าไปแล้วบ่าว ถูกแอดสอนเชิงและชี้แจงให้ฟังแล้ว😂😂 เขาเอาลงให้ดูแล้วจะจริงหรือไม จะเชื่อหรือไม่เชื่อ ก็ไปหาข้อมูลเาเองบ้าง😂😂 น่ากลัวจริงๆคอมเรื่องล่ะเรื่องแต่ล่ะอย่าง😂😂 ขอพูดภาษาใต้นิดนะ👉 บ้าจริงเติ้ล😂😂

    • @user-ok9hh5xo6s
      @user-ok9hh5xo6s 4 หลายเดือนก่อน

      ฟังให้ได้ศัพท์จะได้ไม่จับมากระเดียด ปลาซีลาแคนท์

    • @egch1yearago21
      @egch1yearago21 4 หลายเดือนก่อน

      ดูจาก ความรู้ของแอดมินในคลิป ผมก็ว่าไม่น่าพลาดนะ เค้าทำการบ้านมาอย่างดี