Pichai Sodbhiban
Pichai Sodbhiban
  • 560
  • 118 290

วีดีโอ

Children's Library
มุมมอง 12 หลายเดือนก่อน
Children's Library
Botanic Space of Shenyang
มุมมอง 12 หลายเดือนก่อน
Botanic Space of Shenyang
Old Building Restoration
มุมมอง 32 หลายเดือนก่อน
Old Building Restoration
Informational Cultural Festivals 2024 @Surin
มุมมอง 243 หลายเดือนก่อน
Informational Cultural Festivals 2024 @Surin
Surin International Cultural Festival 2024
มุมมอง 183 หลายเดือนก่อน
Surin International Cultural Festival 2024
แห่เจ้าพ่อสามชุก ตลาดสามชุก 100 ปี
มุมมอง 84 หลายเดือนก่อน
แห่เจ้าพ่อสามชุก ตลาดสามชุก 100 ปี
การพัฒนาตลาดวามชุก 100 ปี
มุมมอง 14 หลายเดือนก่อน
การพัฒนาตลาดวามชุก 100 ปี
20 ปีตลาดสามชุก
มุมมอง 94 หลายเดือนก่อน
20 ปีตลาดสามชุก
แห่เจ้าพ่อสามชุก 2567
มุมมอง 394 หลายเดือนก่อน
แห่เจ้าพ่อสามชุก 2567
แห่เจ้าพ่อสามชุก 2024
มุมมอง 1954 หลายเดือนก่อน
แห่เจ้าพ่อสามชุก 2024
การจัดการอย่างยังยืน ตลาดสามชุก 100 ปี
มุมมอง 44 หลายเดือนก่อน
การจัดการอย่างยังยืน ตลาดสามชุก 100 ปี
ตลาดสามชุกหลังโควิด 19
มุมมอง 14 หลายเดือนก่อน
ตลาดสามชุกหลังโควิด 19
การพัฒนา 100 ปี
มุมมอง 94 หลายเดือนก่อน
การพัฒนา 100 ปี
บ้านอังม้อหลาว
มุมมอง 14 หลายเดือนก่อน
บ้านอังม้อหลาว
โครงการคลองด่านน้อย
มุมมอง 54 หลายเดือนก่อน
โครงการคลองด่านน้อย
โครงการคลองด่านน้อย
มุมมอง 34 หลายเดือนก่อน
โครงการคลองด่านน้อย
โครงการคลองด่านน้อย
มุมมอง 104 หลายเดือนก่อน
โครงการคลองด่านน้อย
ชุมชนยลวิถีวัดคิรีวงศ์
มุมมอง 1049 หลายเดือนก่อน
ชุมชนยลวิถีวัดคิรีวงศ์
ไข่เคใบชา บ้านวังรี
มุมมอง 269 หลายเดือนก่อน
ไข่เคใบชา บ้านวังรี
พิพิธภัณฑารักษ์ อัมพวา เรือนไทย
มุมมอง 699 หลายเดือนก่อน
พิพิธภัณฑารักษ์ อัมพวา เรือนไทย
พิพิธภัณฑารักษ์ อัมพวา 4
มุมมอง 39 หลายเดือนก่อน
พิพิธภัณฑารักษ์ อัมพวา 4
พิพิธภัณฑารักษ์ อัมพวา2
9 หลายเดือนก่อน
พิพิธภัณฑารักษ์ อัมพวา2
พิพิธภัณฑารักษ์ อัมพวา 3
มุมมอง 29 หลายเดือนก่อน
พิพิธภัณฑารักษ์ อัมพวา 3
พิพิธภัณฑ์ชัยบุรี 3
มุมมอง 49 หลายเดือนก่อน
พิพิธภัณฑ์ชัยบุรี 3
พิพิธภัณฑ์ชัยบุรี อัมพวา
มุมมอง 129 หลายเดือนก่อน
พิพิธภัณฑ์ชัยบุรี อัมพวา
Amphrawa 2023-2
9 หลายเดือนก่อน
Amphrawa 2023-2
Amphrawa 2023
มุมมอง 99 หลายเดือนก่อน
Amphrawa 2023
อัมพวา 2023
มุมมอง 219 หลายเดือนก่อน
อัมพวา 2023
ไทยพวน นครนายก 1
มุมมอง 7019 หลายเดือนก่อน
ไทยพวน นครนายก 1

ความคิดเห็น

  • @user-ny7fc5uc2s
    @user-ny7fc5uc2s 4 หลายเดือนก่อน

    สาธุสาธุสาธุค่ะ

  • @kesronnoinmpang4325
    @kesronnoinmpang4325 4 หลายเดือนก่อน

    สาธุสาธุสาธุค่ะ

  • @user-il9rj5hq5u
    @user-il9rj5hq5u 2 ปีที่แล้ว

    เศียรปู่ฤาษีนารายณ์มีหน้าสีม่วงใช่มั้ยครับ

  • @user-ip6ed8qw5z
    @user-ip6ed8qw5z 2 ปีที่แล้ว

    ๆๆๆๆๆๆๆๆ

  • @user-qy2vh8zs7k
    @user-qy2vh8zs7k 2 ปีที่แล้ว

    ขอกราบครูบาอาจารย์ค่ะ

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @nomboodprwnzg_2484
    @nomboodprwnzg_2484 3 ปีที่แล้ว

    พชรภัทร จุ่นแพร 60030190

  • @aommsch
    @aommsch 3 ปีที่แล้ว

    นางสาวสุชาวดี นาคโหมด 60030212

  • @jongzkanok9768
    @jongzkanok9768 3 ปีที่แล้ว

    Memory and forgeting ความทรงจำและการลืม ชาวยุโรปตั้งชื่อเมืองขึ้นมาใหม่ในดินแดนเก่า เช่นทวีปอเมริกา แอฟริกา เอเชีย ออสเตรียและโอเซียเบีย ล้วนเป็นเมือง "รุ่นใหม่"ในดินแดน "เก่า"ซึ่งการตั้งชื่อเมืองใหม่มีความหมายว่าเป็นทายาทของเมืองเก่าหรือเป็นผู้สือทอดของสิ่งที่เสียหายไป เก่าใหม่ดำรงอยู่เคียงคู่กัน

  • @jongzkanok9768
    @jongzkanok9768 3 ปีที่แล้ว

    เวลาเก่า ใหม่ มีนักประวัติศาสตร์ 4-5คนเกิดขึ้น คอยบันทึกพวกของเวลา เพราะนาฬิกามีเทคโนโลยี เวลาส่วนใหญ่เป็นลูกผสมทางฝั่งอเมริกา เวลาเก่าเหตุการณ์ต่างๆ จึงมีชื่อแปลกๆ เป็นเมืองเก่าที่ตั้งชื่อใหม่ เดิมเป็นชื่อของเมืองชนเผ่าเก่า แต่ปัจจุบันไปตั้งชื่อใหม่เป็นเมืองแม่ ค่อมามีเหตุการณ์ในปีคศ.1776 คำประกาศคำสั่งทหารเป็นคำสั่งที่คนรู้สึกว่ามีความสมเหตุสมผล ทำให้เกิดการปฏิวัติในอเมริก

  • @jongzkanok9768
    @jongzkanok9768 3 ปีที่แล้ว

    ชุมชนจิตรกรรมเป็นการบรรยายเรื่องราวของนโยบายการสร้างชาติของรัฐใหม่ผ่านระบบการศึกษา กฎระเบียบสังคม การปกครองการถ่ายทอดแบบลัทธิชาตินิยมจากยุโรปของรัฐอาณานิคมต่างๆ ลัทธิอยู่นานยิ่งมีการเหยียดผิว ในลัทธิชาตินิยม จัดระบบต่างๆที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของชาติ การทำแผนที่เพื่อการค้นหา พิภิธภัณฑ์ ที่รวมสิ่งต่างๆที่เป็นหลักฐานทางด้านความเชื่อสิ่งที่สืบทอดมาตั้งแต่ยุคอดีตเพื่อสืบทอดต่อในปัจจุบัน

  • @jongzkanok9768
    @jongzkanok9768 3 ปีที่แล้ว

    The angle of history ย้อนรอยอดีตของเวียดนาม เขมร จีน การปกครองของเวียดนามนั้นเป็นแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย ทำให้แนวคิดเปลี่ยนไปตามยุค

  • @jongzkanok9768
    @jongzkanok9768 3 ปีที่แล้ว

    ความรักชาติและการเหยียดเชื้อชาติ เป็นผลจากลัทธิชาตินิยม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ปลูกฝังให้รักและความเสียสละแห่งตน เละมีการปลุกจิตสำนึกในชาติ เสียสละให้แผ่นดิน

  • @jongzkanok9768
    @jongzkanok9768 3 ปีที่แล้ว

    "The last wave" คลื่นลูกสุดท้ายของราชวงศ์และระบบการปกครองที่ถูกกลืนและปรับเปลี่ยนไปในยุโรป เอเชีย หลังสงครามโลกครั้งที่1ทำให้ราชวงศ์ใหญ่สิ้นสุดลงและถูกกระแสสันนิบาตเข้ามาแทน และหลังสงครามโลกครั้งที่2 เกิดรัฐใหม่ขึ้นมากมาย ลัทธินิยมทางทหารปรับตัวเป็นลัทธิชาตินิยมทางอาณานิคมเพราะการยึดครองดินแดนของลัทธิชาตินิยมทำให้เกิดความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจนกันกับสภาพภูมิอากาศกับการเดินทางภายในอาณานิคมเกิดความสะดวกสบายเกิดขึ้นทั้งทางบกและทางน้ำ มีเครื่องบิน มีการพัฒนาเทคโนโลยี มีปฎิสมัพันธ์ทางด้านภาษาถิ่นมากขึ้นที่ใช้ในการศึกษา ติดต่อสื่อสาร จนถึงศตวรรษที่20 พัฒนาจนทำให้ปัญหาด้านต่างๆเริ่มหมดไป

  • @jongzkanok9768
    @jongzkanok9768 3 ปีที่แล้ว

    หลังศตวรรษที่ 19 ได้มีการขยายตัวของอาณาจักรต่างๆ จึงทำให้ส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมก็อาจจะมีถูกกลืนหายไปด้วย จึงมีการเลือกใช้ภาษาถิ่นเป็นหลัก ทำให้เกิดความเอกภาพ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1-2 เปลี่ยนแปลงและปรับปรุงลัทธิ ชาตินิยม ประชาชนมีอำนาจมากขึ้น แผ่กระจายจากยุโรปไปถึงเอเชียด้วย และภาษาเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติในทุกๆพื้นที่ ภาษาหลักของแต่ละชาติถูกนำมาใช้เป็นภาษาราชการ

  • @jongzkanok9768
    @jongzkanok9768 3 ปีที่แล้ว

    หลังการสิ้นสุดการปลดปล่อยของชาติต่างๆแล้ว คือการครอบงำของชาติตะวันตกที่เข้าไปในทวีปอเมริกาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโลกเก่าทำให้ยุโรปได้มีการเปลี่ยนแปลงทำให้ให้ยุโรปมีภาษาแห่งชาติ มีการพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมันกล่วว่า "ชาติทุกชาติก็ต้องมีวัฒนธรรมเป็นของตนและมีภาษาเป็นของตน" แนวคิดนี้จึงถูกเชื่อมโยงความเป็นชาติทางวัฒนธรรมและชาตินิยม ทุกภาษาจึงควรค่ำแก่การศึกษาให้เท่าเทียมกันทุกชนชั้น ภาษาบ่งบอกความเป็นชาติ เกิดโลกใหม่ โลกเก่า

  • @user-yj7bt7yt2h
    @user-yj7bt7yt2h 3 ปีที่แล้ว

    IME NEW AND OLD "เวลาเก่าเวลาใหม่" มีนักประวัติศาสตร์เกิดขึ้นซึ่งได้ทำการบันทึกตามช่วงเวลาโดยในช่วงเวลาอาจมีสถานที่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคประวัติศาสตร์เกิดชื่อเมืองหรือสถานที่แปลกใหม่ขึ้น มีเทคโนโลยีที่ใหม่และเกิดการปฏิวัติต่อมา เกิดการล้างฆ่าเผ่าพันธ์

  • @user-yj7bt7yt2h
    @user-yj7bt7yt2h 3 ปีที่แล้ว

    (Memory and Forgetting) ความทรงจำกับการลืมพื้นที่เก่าและใหม่ ชาวยุโรปตั้งชื่อเมืองขึ้นมาใหม่ในดินแดนเก่า เช่นทวีปอเมริกา แอฟริกา เอเชีย ออสเตรียและโอเซียเบีย ล้วนเป็นเมือง "รุ่นใหม่"ในดินแดน "เก่า"ซึ่งการตั้งชื่อเมืองใหม่มีความหมายว่าเป็นทายาทของเมืองเก่าหรือเป็นผู้สือทอดของสิ่งที่เสียหายไป เก่าใหม่ดำรงอยู่เคียงคู่กันใน Homogeneous Empty Time ด้วยกันคือไม่ประวัติศาสตร์อันเดียวกันทั้ง2แห่ง มีการพัฒนาแผนที่ นาฬิกา ระบบต่างๆผ่านระบบทุนนิยม การเดินทางบนมหาสมุทรแอตแลนติก ถูกถ่ายทอดและนำมาพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ

  • @user-yj7bt7yt2h
    @user-yj7bt7yt2h 3 ปีที่แล้ว

    ชุมชนจินตกรรม เป็นตัวอย่างที่บรรยายถึงเรื่องราวต่าง ๆ นโยบายการสร้างชาติของรัฐใหม่ ได้ปลูกฝั่งอุดมการณ์ผ่านสื่อมวลชน ผ่านระบบการศึกษา กฎระเบียบการปกครอง การถ่ายทอดแบบลัทธิชาตินิยมทางการมาจากยุโรปของรัฐอาณานิคมเอเชีย แอฟริกา และการจำลองโดยตรงมาจากระบอบกษัตริย์ยุโรป ในศตวรรษที่ 19 ลัทธิชาตินิยมเกิดจากรัฐอาณานิคม การวิเคราะห์ทั้งสามสถาบันแห่งอำนาจ มีสถาบันเกิดขึ้นมากมาย มีสถาบันที่กำหนดสัมโนประชากร สถาบันแผนที่ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ปัจจัยทั้งสามมีส่วนช่วยในการปั้นแต่งจินตานาการของรัฐอาณานิคมที่มีต่ออาณาจักรของตนเอง

  • @user-yj7bt7yt2h
    @user-yj7bt7yt2h 3 ปีที่แล้ว

    The angle of history บิดาเทวดาแห่งประวัติศาสตร์ เขาบอกให้ย้อนไปดูสงครามเวียดนาม แต่ปัจจุบันเวียดนามเป็นลัทธิการปกครองแบบสังคมนิยมแบบประชาธิปไตย แนวคิดชาตินิยมที่ผ่านมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามยุคตามสมัยตามความเห็นจักรวรรดิของราชวงค์แมนจูดังคำกล่าวที่ว่า "จำเป็นต้องลืมบางสิ่งบางอย่างไปบ้างจึงจะสามารถเดินหน้าพัฒนาได้"

  • @user-yj7bt7yt2h
    @user-yj7bt7yt2h 3 ปีที่แล้ว

    ความรักชาติและการเหยียดเชื้อชาติ ชาติหรือความเป็นประชาชาติ นั้นพัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมาอย่างไรก็ยังเป็นที่กังขาอยู่ โดยความเปลี่ยนแปลงของสังคมและจิตสำนึกทำไมถึงทำให้คนเราถึงยอมตายเพื่อชาติได้ โดยรากเหง้าอาจเกิดมาจากความกลัว กลัวจะถูกแย่งหรือถูกครอบงำ ลัทธิชาตินิยมมีการเหยียดผิวเกิดขึ้นและจงใจให้เกิดความรักชาติ มีทั้งการการแสดงความรักจนไปถึงความเกลียดชัง จึงได้ปลูกจิตสำนึกให้รักชาติ ยอมตายเพื่อแผ่นดินได้

  • @user-yj7bt7yt2h
    @user-yj7bt7yt2h 3 ปีที่แล้ว

    The last wave คลื่นลูกสุดท้ายของราชวงค์และระบบการปกครองที่ค่อยๆเปลี่ยนแปลงไปในยุโรป เอเชีย ที่เป็นโลกเก่า และหลังจากจบสงครามโลกครั้งที่ 1 มีกระแสสันนิบาต ทำให้ราชวงค์ใหญ่สิ้นสุดลง เกิดปัญหาต่างๆขึ้น ยิ่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กระแสของความรักชาติ ทุกจักรวรรดิก็กลายเป็นอดีต มีรัฐใหม่เกิดขึ้นมากมาย เป็นรัฐ เป็นประเทศ ลัทธินิยมทางทหารก็ปรับาเป็นลัทธิชาตินิยมทางอาณานิคม เกิดความสะดวกสบายมากขึ้น

  • @user-yj7bt7yt2h
    @user-yj7bt7yt2h 3 ปีที่แล้ว

    ในช่วงเวลาหลังจากศตวรรษที่ 19 ได้เกิดการปฏิวัติการศึกษา และมีการขยายตัวของอาณาจักรต่างๆ ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาทางวัฒนธรรม สังคม และการเมืองการปกครองอาณาจักรขยายตัวก็ทำให้วัฒนธรรมถูกกลืนหายไป จึงจำเป็นต้องเลือกใช้ภาษาเพียงภาษาเดียวเพื่อการสื่อสารที่เป็นเอกภาพและยังบ่งบอกถึงการดำรงชีวิตอยู่ภาษาจึงถือเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างมาก

  • @user-yj7bt7yt2h
    @user-yj7bt7yt2h 3 ปีที่แล้ว

    หลังจากการสิ้นสุดการปลดปล่อยของชาติต่างๆ ทวีปอเมริกาถูกครอบงำโดยชาติตะวันตกเริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลง ด้านภาษา การพิมพ์ การเมือง และการปกครอง นักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมันกล่าวไว้ว่า ชาติทุกชาติมีวัฒนธรรมและภาษาเป็นของตนเอง จึงถูกการเชื่อมโยงความเป็นชาติวัฒนธรรมและชาตินิยม ประวัติศาสตร์ที่ถูกจารึกไว้ ทำให้เกิดการเปรียบเทียบยุดเก่ากับยุคใหม่ที่ผ่านการพัฒนาและแก้ไข ซึ่งสามารถนำมาปรับใช้กับเหตุการณ์ปัจจุบัน

  • @user-kf1vf5iu6s
    @user-kf1vf5iu6s 3 ปีที่แล้ว

    หลังจากการสิ้นสุดของการปลดปล่อยชาติต่างๆ มีการครอบงำของชาติตะวันตกที่เข้าไปในทวีปอเมริกา เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง และภาษา ตัวพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมันกล่าวว่า ชาติทุกชาติมีวัฒนธรรมและภาษาเป็นของตนเอง และจากเหตุการณ์จากอดีตทำให้เราสามารถนำข้อคิดมาพัฒนา และนำมาประยุกต์ใช้ในเหตุการณ์ปัจจุบันให้ดีขึ้นได้

  • @user-kf1vf5iu6s
    @user-kf1vf5iu6s 3 ปีที่แล้ว

    หลังศตวรรษที่19 มีการขยายตัวของอาณาจักรต่างๆ ทำให้ส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมก็อาจถูกกลืนไปบ้าง จึงเลือกใช้ภาษาถิ่น ทำให้เกิดความเป็นเอกภาพ หลังจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1-2 มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงลัทธิ ภาคประชาชนมีระบบมีสิทธิ์มีอำนาจมากขึ้น และภาษายังบ่งบอกถึงการดำรงชีวิตอยู่เฉพาะชาติ จึงถือเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างมาก

  • @user-kf1vf5iu6s
    @user-kf1vf5iu6s 3 ปีที่แล้ว

    " The last wave" คลื่นลูกสุดท้ายของราชวงศ์ และระบบการปกครองที่มีการถูกปรับเปลี่ยนในทวีปยุโรป เอเชีย ระบบการปกครองถูกเปลี่ยนหลังไปจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้ราชวงศ์สิ้นสุกลงเพราะถูกกระแสสันนิบาตมาแทนที่ และหลังสงครามโลกครั้งที่2 เกิดรัฐใหม่ขึ้นมากมาย ลิทธินิยมทางทหารปรับตัวเป็นลัทธินิยมทางอาณานิคม เริ่มมีการเดินทางคมนาคมที่สะดวกยิ่งขึ้น ทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ทางภาษามากขึ้น เกิดความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจนกันกับสภาพภูมิอากาศ เกิดความสะดวกสบายเกิดขึ้นทั้งทางบกและทางน้ำ มีเครื่องบิน มีการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านภาษาถิ่นมากขึ้นที่ใช้ในการศึกษา ติดต่อสื่อสาร จนถึงศตวรรษที่20 พัฒนาจนทำให้ปัญหาด้านต่างๆเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงและหมดไป

  • @user-kf1vf5iu6s
    @user-kf1vf5iu6s 3 ปีที่แล้ว

    การรักชาติและการเหยียดเชื้อชาติ รากเหง้าเกิดมาจากความกลัวของคนอื่น ลัทธิชาตินิยมมีการเหยียดผิวเกิดขึ้น จงใจให้เกิดความรักและความเสียสละแห่งตน ชาติอาณานิคมก็เกลียดชังเจ้าอาณานิคม

  • @user-kf1vf5iu6s
    @user-kf1vf5iu6s 3 ปีที่แล้ว

    The Angle of history เป็นการย้อนรอยอดีตของสงครามที่เคยเกิดขึ้นที่เวียดนาม ที่ในปัจจุบันเวียดนามเป็นประเทศที่มีการปกคอรองแบบประชาธิปไตย ซึ่งเปลี่ยนไปตามยุคตามสมัยทีมีการพัฒนาขึ้น

  • @user-kf1vf5iu6s
    @user-kf1vf5iu6s 3 ปีที่แล้ว

    ชุมชนจิตรกรรมเป็นเหมือนการบันทึกเรื่องราวของนโยบายการสร้างชาติผ่านรัฐใหม่ที่ปลูกฝังผ่านการศึกษา ลัทธิชาตินิยมทางการเกิดขึ้นจากรัฐอาณานิคมในศตวรรษที่ 19 ลัทธิชาตินิยมทางการเกิดขึ้นมาจากรัฐอาณานิคมการดำเนินงานที่เชื่อมโยงกัน ปัจจุบันการที่มีลัทธิอาณานิคมดำรงอยู่มากเท่าไหร่ยิ่งมีการเหยียดผิวการแบ่งชนชั้นมากขึ้นอีกด้วย

  • @user-kf1vf5iu6s
    @user-kf1vf5iu6s 3 ปีที่แล้ว

    Memory and forgeting ความทรงจำและการลืมบอกพื้นที่ใหม่และเก่าชาวยุโรปตั้งชื่อเมืองขึ้นมาใหม่ในดินแดนเก่า ความทรงจำ การลืม การทำเทคโนโลยีและระบบทุนนิยมแสดงให้เห็นถึงลักษณะภูมิประเทศที่แตกต่างของชายฝั่งมหาสมุทร มีการอพยพย้ายท้องถิ่นเป็นอาณานิคม มีการพัฒนาสร้างเนื้อสร้างตัวจนมีเอกภาพที่มั่นคง

  • @user-kf1vf5iu6s
    @user-kf1vf5iu6s 3 ปีที่แล้ว

    The new and old คือยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือประวัติศาสตร์ ซึ่งในช่วงนี้จะเริ่มมีนักประวัติศาสตร์เกิดขึ้นซึ่งเขาได้บันทึกตามช่วงเวลาต่างๆ โดยการบันทึกอาจจะมีเรื่องราวของสถานที่ต่างๆในประวัติศาสตร์หรืออาจมีชื่อสถานที่แปลกใหม่ขึ้นมา ต่อมาเกิดการประกาศเอกราชทำให้มีการปฏิวัติการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

  • @pongphakl.1526
    @pongphakl.1526 3 ปีที่แล้ว

    เวลาเก่าและใหม่ เวลาก่อนประวัติศาสตร์และหลังประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์เป็นผู้แบ่งช่วงเวลา

  • @pongphakl.1526
    @pongphakl.1526 3 ปีที่แล้ว

    ความทรงจำกับการลืม พื้นที่ใหม่และเก่า ชาวยุโรปตั้งชื่อใหม่ในดินแดนเก่า การตั้งชื่อเมืองใหม่มีความหมายว่าเป็นทายาทของเมืองเก่าหรือเป็นผู้สือทอดของสิ่งที่เสียหายไปเก่าใหม่ดำรงอยู่เคียงคู่กัน

  • @pongphakl.1526
    @pongphakl.1526 3 ปีที่แล้ว

    ชุมชนจินตกรรมเป็นเหมือนการบันทึกเรื่องราวของนโยบายการสร้างชาติผ่านรัฐใหม่ที่ปลูกฝังผ่านการศึกษา ลัทธิชาตินิยมทางการเกิดขึ้นจากรัฐอนานิคมในศตวรรษที่ 19 ลัทธิชาตินิยมทางการเกิดขึ้นมาจากรัฐอาณานิคมการดำเนินงานที่เชื่อมโยงกัน

  • @pongphakl.1526
    @pongphakl.1526 3 ปีที่แล้ว

    The angel of history ย้อนดูประวัติสงครามเวียด สงครามเขมร สงครามจีนแต่ปัจจุบันการปกครองของเวียดนามนั้นเป็นแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย ทำให้แนวคิดเปลี่ยนไปตามยุค

  • @pongphakl.1526
    @pongphakl.1526 3 ปีที่แล้ว

    ความรักชาติและการเหยียดสีผิว เป็นผลจากลัทธิชาตินิยม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ปลูกฝังให้รักความเป็นชาติส่งผลให้เกิดความชิงชังกัน

  • @pongphakl.1526
    @pongphakl.1526 3 ปีที่แล้ว

    คลื่นลูกสุดท้าย “the last wave “ ราชวงศ์และการปกครองที่ถูกปรับเปลี่ยนในยุโรปและเอเชีย หลังสงครามโลกครั้งที่1ทำให้ราชวงศ์ใหญ่ถูกยุบ และหลังสงครามโลกครั้งที่2ก็เกิดรัฐใหม่ขึ้นมากมาย ลิทธินิยมทางทหารปรับตัวเป็นลัทธินิยมทางอาณานิคม เริ่มมีการเดินทางคมนาคมที่สะดวกยิ่งขึ้น ทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ทางภาษามากขึ้น

  • @pongphakl.1526
    @pongphakl.1526 3 ปีที่แล้ว

    หลังศตวรรษที่19 เกิดการปฏิวัติทางการศึกษาและการขยายตัวของอาณาจักรต่างๆ ก่อให้เกิดปัญหาทางวัฒนธรรมและการเมือง จึงเลือกนำภาษาท้องถิ่นมาใช้เป็นภาษาหลักเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพขึ้นนั่นเอง

  • @pongphakl.1526
    @pongphakl.1526 3 ปีที่แล้ว

    หลังจากการสิ้นสุดของการปลดปล่อยชาติต่างๆ มีการครอบงำของชาติตะวันตกที่เข้าไปในทวีปอเมริกา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครอง และภาษา ตัวพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมันกล่าวว่า ชาติทุกชาติมีวัฒนธรรมและภาษาเป็นของตนเองจากแนวคิดวัฒนธรรมชาตินิยมจึงถูกเชื่อมโยงความเป็นชาติ วัฒนธรรมถูกถ่ายทอดและสืบถอดต่อกันมาเป็นรูปแบบจนถึงปัจจุบัน

  • @supawanjundasua5847
    @supawanjundasua5847 3 ปีที่แล้ว

    Time new and old คือยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในช่วงนี้จะเริ่มมีนักประวัติศาสตร์เกิดขึ้นซึ่งพวกเขาได้บันทึกตามช่วงเวลาต่างๆโดยการบันทึกอาจจะมีเรื่องราวของสถานที่ต่างๆในยุคก่อนประวัติศาสตร์ทำให้เกิดเทคโนโลยี​ใหม่ๆ มีชื่อสถานที่แปลกใหม่ขึ้นมา เกิดการประกาศเอกราช การล้างเผ่าพันธุ์

  • @supawanjundasua5847
    @supawanjundasua5847 3 ปีที่แล้ว

    Memories and Forgetting ความทรงจำกับการลืม ชาวยุโรปตั้งชื่อเมืองขึ้นมาใหม่ ในดินแดนเก่าไม่ว่าจะเป็น อเมริกา แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย ล้วนเป็นเมืองรุ่นใหม่ในดินแดนเก่า การทำเทคโนโลยี ระบบทุนนิยม เพื่อให้เกิดความเป็นไปได้ เห็นถึงลักษณะภูมิประเทศที่แตกต่างของชายฝั่งมหาสมุทร มีการอพยพย้ายท้องถิ่นเป็นอาณานิคม พัฒนาสร้างเนื้อสร้างตัวจนมีเอกภาพที่มั่นคง