- 120
- 130 170
Rapin Yucnyao
Thailand
เข้าร่วมเมื่อ 3 ส.ค. 2011
เป็นการรบรวมผลงานและงานที่ทำเป็นประจำ
สวน 3 วัย ใส่ใจ 3 อ. เทศบาลตำบลหัวตะพาน
สวน 3 วัย ใส่ใจ 3 อ. เทศบาลตำบลหัวตะพาน
“หัวตะพาน”ระดมผลงานPAทั้งอำเภอ
วันที่ 12 กันยายน 2567 ที่ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลหัวตะพาน อ.หัวตะพาน จ.อำนาจเจริญ ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เปิดการประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย(Physical Activity) หรือ PA และการสื่อสารสาธารณะระดับตำบลและอำเภอ ในพื้นที่นำร่อง 8 อปท.อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)โดยความร่วมมือระหว่างสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ,มูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี โดยการประสานงานของนางสาวจงกลนี ศิริรัตน์ ผู้รับผิดชอบโครงการเขต 10
ในการประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้เป็นการนำเสนอผลลัพธ์การทำงานแต่ละพื้นที่ เพื่อสรุปแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (PA)ในพื้นที่ นำไปสู่การดำเนินงานและถอดบทเรียนรูปแบบกิจกรรมและพื้นที่ต้นแบบสุขภาวะ ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น(อปท.) 8 พื้นที่ของอ.หัวตะพาน ที่เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย เทศบาลตำบลหัวตะพาน เทศบาลตำบลรัตนวารีศรีเจริญ เทศบาลตำบลเค็งใหญ่ อบต.โพนเมืองน้อย อบต.คำพระ อบต.จิกดู่ อบต.สร้างถ่อน้อย และอบต.หนองแก้ว ซึ่งการนำเสนอผลงานแต่ละอปท. ได้สะท้อนปัญหา อุปสรรค ความต้องการ และแนวทางที่จะขับเคลื่อน ส่วนใหญ่มุ่งเป้าไปที่สุขภาวะของผู้สูงอายุ โดยมีโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นจุดศูนย์กลาง ส่วนใหญ่พบว่ามีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หลอดเลือดสมอง นอกจากนั้นยังได้ขยายผลสู่กลุ่มเยาวชนเพื่อสร้างกุศโลบายการมีส่วนร่วม นำไปสู่การสนับสนุนของอปท.ในรูปแบบงบประมาณร่วมกับภาคีเครือข่าย
สำหรับผลงานที่น่าสนใจ อาทิ เต้นยางยืดในกลุ่มผู้สูงอายุ กิจกรรมจักรยานขาไถของกลุ่มเด็กเล็ก ส่วนอบต.หนองแก้ว ได้จัดกิจกรรมนำการละเล่นพื้นบ้านดั้งเดิมของชุมชนมาฟื้นฟู เช่น กระโดดยาง หมากเก็บ เล่นตังเต เต้นจ๊อก โดยเจาะเป้าหมายกลุ่มเยาวชน และในครั้งนี้ได้มีการเสนอแผนปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะเทศบาลตำบลหัวตะพาน และอบต.จิกดู่ รองรับกิจกรรมทางกายโดยทีมนักวิจัย สถาปนิกศูนย์ออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นำโดยผศ.กตัญญู หอสูติสิมา คณะสถาปัตย์ฯมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และนายชุนันท์ วามะขัน เป็นผู้ออกแบบซึ่งจะดำเนินการในปีงบประมาณ 2568
ส่วนในภาคบ่ายมีกิจกรรมKICK OFF เวทีสาธารณะสวน 3 วัยใส่ใจ 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)เทศบาลตำบลหัวตะพาน โดยมีนายประหยัด คูณมี นายอำเภอหัวตะพาน เป็นประธานเปิดงานซึ่งมีการจัดแสดงกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมทางกายของกลุ่ม ชมรม เครือข่ายมวลชนในแต่ละชุมชน และจัดเวทีเสวนาประเด็นสุขภาวะกับกิจกรรมทางกาย ซึ่งผู้ร่วมรายการประกอบด้วย นายธนิต ชาววัง นายกเทศมนตรีตำบลหัวตะพาน นายสุธรรม ยืนสุข นายกอบต.จิกดู่ นายเชวงศักดิ์ พุทธโธ ผอ.กองสาธารณสุข อบต.สร้างถ่อน้อย นายอิทธิพล พิมพบุตร ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอหัวตะพาน โดยมีนายสมเกียรติ ธรรมสาร ผอ.รพ.สต.สร้างถ่อน้อย ดำเนินรายการ ซึ่งตอนหนึ่งนายอิทธิพล พิมพบุตร ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอหัวตะพานระบุว่าอำเภอหัวตะพานประสบปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาดมาต่อเนื่องจากสถิติผู้ป่วยพบเป็นอันดับ 2 ของจังหวัด ในขณะที่นายธนิต ชาววัง สะท้อนถึงปัญหางบประมาณในการสร้างภาวะดูแลผู้สูงอายุแต่ด้วยจิตอาสาของคณะทำงานที่จัดตั้งเป็นกลุ่มส่งผลให้การบริหารจัดการของโรงเรียนผู้สูงอายุราบรื่นขจัดอุปสรรคเรื่องงบประมาณไปได้มาก ปัจจุบันโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลหัวตะพานผลิตนักเรียนออกมาปัจจุบันเป็นรุ่นที่ 8 แล้วซึ่งแต่ละรุ่นมีจำนวน 100 คน ส่วนนายสุธรรม ยืนสุข นายกอบต.จิกดู่ ยอมรับว่าการดำเนินงานด้านสุขภาวะยังไม่เต็มร้อยเนื่องจากเป็นอปท.ขนาดเล็กมีงบประมาณน้อย อีกทั้งประสบปัญหาการมีส่วนร่วมโดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงวัย การจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุจึงเดินหน้าได้เพียง 50 เปอร์เซ็น แต่กระนั้นกิจกรรมด้านนันทนาการอื่นๆเช่น การแข่งขันกีฬาอบต.จิกดู่ได้จัดเป็นประจำทุกปี
ด้านดร.เพ็ญ สุขมาก ผอ.สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลานครินทร์ กล่าวถึงโครงการดังกล่าวว่า มุ่งหวังให้ชุมชนได้ตระหนักถึงสุขภาพที่มีผลต่อโรคNCD (โรคไม่ติดต่อที่เกิดจากพฤติกรรม)ที่เกิดจากการมีกิจกรรมทางกายน้อยไม่เพียงพอซึ่งอยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น การทำงาน การเดินทาง ของประชาชนในทุกช่วงวัยซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มสูงขึ้นไม่เป็นไปตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก
ส่วนบริบทการทำงานจะเอาพื้นที่เป็นตัวกำหนดซึ่งแต่ละพื้นที่อาจมีสภาพทางสังคมแตกต่างกัน แต่ต้องประยุกต์ใช้ให้กลมกลืนกับบริบทวิถีชีวิตของชุมชนนั้นๆ รวมถึงศิลปะวัฒนธรรม เช่น อำนาจเจริญ อุบลราชธานี มีความโดดเด่นในการละเล่น การแสดงหมอลำที่เป็นเอกลักษณ์ก็สามารถประยุกต์เข้ากับกิจกรรมทางกายได้ รวมถึงการเกษตรปลอดภัยก็ปรับตามสภาพ ขอเพียงแค่ขยับก็ลดความเสี่ยงลดโรคNCD ได้
อีกส่วนที่ต้องเดินควบคู่กันไปคือสร้างกลไกให้เอื้อต่อการการเข้าถึง การรวมกลุ่มเพื่อสร้างกิจกรรมสร้างชุมชนเข้มแข็ง มีระบบ กติกาข้อตกลงร่วมกันกับองค์กร หน่วยงาน พร้อมสามารถที่จะเขียนโครงการเพื่อขอรับงบฯสนับสนุนจากองค์กรต่างๆได้ ดร.เพ็ญ สุขมาก กล่าว
ด้านนางสาวจงกลนี ศิริรัตน์ ผู้รับผิดชอบโครงการเขต 10 ได้ย้ำว่าแม้จะเป็นการสรุปผลปิดโครงการภายใต้นิยาม Kick Off แต่คณะทำงานโครงการต้องการให้แต่ละอปท.ได้เริ่มสานต่อด้วยตนเองKick Off หลังจากที่คณะทำงานโครงการเป็นพี่เลี้ยงให้ โดยจะเป็นผู้อยู่เบื้องหลังให้คำปรึกษา แนะนำ รับไม้ต่อเพื่อต่อยอดสร้างเครือข่ายขยายผลให้ต่อเนื่องและหวังว่าการทำงานจะผลิดอกออกผลขยายเครือข่ายอย่างเข้มแข็งเพื่อบรรลุเป้าหมายในการสร้างคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนต่อไป
“หัวตะพาน”ระดมผลงานPAทั้งอำเภอ
วันที่ 12 กันยายน 2567 ที่ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลหัวตะพาน อ.หัวตะพาน จ.อำนาจเจริญ ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เปิดการประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย(Physical Activity) หรือ PA และการสื่อสารสาธารณะระดับตำบลและอำเภอ ในพื้นที่นำร่อง 8 อปท.อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)โดยความร่วมมือระหว่างสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ,มูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี โดยการประสานงานของนางสาวจงกลนี ศิริรัตน์ ผู้รับผิดชอบโครงการเขต 10
ในการประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้เป็นการนำเสนอผลลัพธ์การทำงานแต่ละพื้นที่ เพื่อสรุปแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (PA)ในพื้นที่ นำไปสู่การดำเนินงานและถอดบทเรียนรูปแบบกิจกรรมและพื้นที่ต้นแบบสุขภาวะ ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น(อปท.) 8 พื้นที่ของอ.หัวตะพาน ที่เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย เทศบาลตำบลหัวตะพาน เทศบาลตำบลรัตนวารีศรีเจริญ เทศบาลตำบลเค็งใหญ่ อบต.โพนเมืองน้อย อบต.คำพระ อบต.จิกดู่ อบต.สร้างถ่อน้อย และอบต.หนองแก้ว ซึ่งการนำเสนอผลงานแต่ละอปท. ได้สะท้อนปัญหา อุปสรรค ความต้องการ และแนวทางที่จะขับเคลื่อน ส่วนใหญ่มุ่งเป้าไปที่สุขภาวะของผู้สูงอายุ โดยมีโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นจุดศูนย์กลาง ส่วนใหญ่พบว่ามีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หลอดเลือดสมอง นอกจากนั้นยังได้ขยายผลสู่กลุ่มเยาวชนเพื่อสร้างกุศโลบายการมีส่วนร่วม นำไปสู่การสนับสนุนของอปท.ในรูปแบบงบประมาณร่วมกับภาคีเครือข่าย
สำหรับผลงานที่น่าสนใจ อาทิ เต้นยางยืดในกลุ่มผู้สูงอายุ กิจกรรมจักรยานขาไถของกลุ่มเด็กเล็ก ส่วนอบต.หนองแก้ว ได้จัดกิจกรรมนำการละเล่นพื้นบ้านดั้งเดิมของชุมชนมาฟื้นฟู เช่น กระโดดยาง หมากเก็บ เล่นตังเต เต้นจ๊อก โดยเจาะเป้าหมายกลุ่มเยาวชน และในครั้งนี้ได้มีการเสนอแผนปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะเทศบาลตำบลหัวตะพาน และอบต.จิกดู่ รองรับกิจกรรมทางกายโดยทีมนักวิจัย สถาปนิกศูนย์ออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นำโดยผศ.กตัญญู หอสูติสิมา คณะสถาปัตย์ฯมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และนายชุนันท์ วามะขัน เป็นผู้ออกแบบซึ่งจะดำเนินการในปีงบประมาณ 2568
ส่วนในภาคบ่ายมีกิจกรรมKICK OFF เวทีสาธารณะสวน 3 วัยใส่ใจ 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)เทศบาลตำบลหัวตะพาน โดยมีนายประหยัด คูณมี นายอำเภอหัวตะพาน เป็นประธานเปิดงานซึ่งมีการจัดแสดงกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมทางกายของกลุ่ม ชมรม เครือข่ายมวลชนในแต่ละชุมชน และจัดเวทีเสวนาประเด็นสุขภาวะกับกิจกรรมทางกาย ซึ่งผู้ร่วมรายการประกอบด้วย นายธนิต ชาววัง นายกเทศมนตรีตำบลหัวตะพาน นายสุธรรม ยืนสุข นายกอบต.จิกดู่ นายเชวงศักดิ์ พุทธโธ ผอ.กองสาธารณสุข อบต.สร้างถ่อน้อย นายอิทธิพล พิมพบุตร ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอหัวตะพาน โดยมีนายสมเกียรติ ธรรมสาร ผอ.รพ.สต.สร้างถ่อน้อย ดำเนินรายการ ซึ่งตอนหนึ่งนายอิทธิพล พิมพบุตร ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอหัวตะพานระบุว่าอำเภอหัวตะพานประสบปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาดมาต่อเนื่องจากสถิติผู้ป่วยพบเป็นอันดับ 2 ของจังหวัด ในขณะที่นายธนิต ชาววัง สะท้อนถึงปัญหางบประมาณในการสร้างภาวะดูแลผู้สูงอายุแต่ด้วยจิตอาสาของคณะทำงานที่จัดตั้งเป็นกลุ่มส่งผลให้การบริหารจัดการของโรงเรียนผู้สูงอายุราบรื่นขจัดอุปสรรคเรื่องงบประมาณไปได้มาก ปัจจุบันโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลหัวตะพานผลิตนักเรียนออกมาปัจจุบันเป็นรุ่นที่ 8 แล้วซึ่งแต่ละรุ่นมีจำนวน 100 คน ส่วนนายสุธรรม ยืนสุข นายกอบต.จิกดู่ ยอมรับว่าการดำเนินงานด้านสุขภาวะยังไม่เต็มร้อยเนื่องจากเป็นอปท.ขนาดเล็กมีงบประมาณน้อย อีกทั้งประสบปัญหาการมีส่วนร่วมโดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงวัย การจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุจึงเดินหน้าได้เพียง 50 เปอร์เซ็น แต่กระนั้นกิจกรรมด้านนันทนาการอื่นๆเช่น การแข่งขันกีฬาอบต.จิกดู่ได้จัดเป็นประจำทุกปี
ด้านดร.เพ็ญ สุขมาก ผอ.สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลานครินทร์ กล่าวถึงโครงการดังกล่าวว่า มุ่งหวังให้ชุมชนได้ตระหนักถึงสุขภาพที่มีผลต่อโรคNCD (โรคไม่ติดต่อที่เกิดจากพฤติกรรม)ที่เกิดจากการมีกิจกรรมทางกายน้อยไม่เพียงพอซึ่งอยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น การทำงาน การเดินทาง ของประชาชนในทุกช่วงวัยซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มสูงขึ้นไม่เป็นไปตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก
ส่วนบริบทการทำงานจะเอาพื้นที่เป็นตัวกำหนดซึ่งแต่ละพื้นที่อาจมีสภาพทางสังคมแตกต่างกัน แต่ต้องประยุกต์ใช้ให้กลมกลืนกับบริบทวิถีชีวิตของชุมชนนั้นๆ รวมถึงศิลปะวัฒนธรรม เช่น อำนาจเจริญ อุบลราชธานี มีความโดดเด่นในการละเล่น การแสดงหมอลำที่เป็นเอกลักษณ์ก็สามารถประยุกต์เข้ากับกิจกรรมทางกายได้ รวมถึงการเกษตรปลอดภัยก็ปรับตามสภาพ ขอเพียงแค่ขยับก็ลดความเสี่ยงลดโรคNCD ได้
อีกส่วนที่ต้องเดินควบคู่กันไปคือสร้างกลไกให้เอื้อต่อการการเข้าถึง การรวมกลุ่มเพื่อสร้างกิจกรรมสร้างชุมชนเข้มแข็ง มีระบบ กติกาข้อตกลงร่วมกันกับองค์กร หน่วยงาน พร้อมสามารถที่จะเขียนโครงการเพื่อขอรับงบฯสนับสนุนจากองค์กรต่างๆได้ ดร.เพ็ญ สุขมาก กล่าว
ด้านนางสาวจงกลนี ศิริรัตน์ ผู้รับผิดชอบโครงการเขต 10 ได้ย้ำว่าแม้จะเป็นการสรุปผลปิดโครงการภายใต้นิยาม Kick Off แต่คณะทำงานโครงการต้องการให้แต่ละอปท.ได้เริ่มสานต่อด้วยตนเองKick Off หลังจากที่คณะทำงานโครงการเป็นพี่เลี้ยงให้ โดยจะเป็นผู้อยู่เบื้องหลังให้คำปรึกษา แนะนำ รับไม้ต่อเพื่อต่อยอดสร้างเครือข่ายขยายผลให้ต่อเนื่องและหวังว่าการทำงานจะผลิดอกออกผลขยายเครือข่ายอย่างเข้มแข็งเพื่อบรรลุเป้าหมายในการสร้างคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนต่อไป
มุมมอง: 56
วีดีโอ
จิกดู่ วัยเรียนวัยใส Happy and Healthy ฉลาดเรียนฉลาดเล่น
มุมมอง 141หลายเดือนก่อน
จิกดู่ วัยเรียนวัยใส Happy and Healthy ฉลาดเรียนฉลาดเล่น เป็นการขับเคลื่อนพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียน นำโดย นายสุธรรม ยืนสุข นายกองค์การบริหารส่วนตำบลจิกดู่ สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมในการขับเคลื่อนพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียน โดยเจ้าหน้าที่ อบต.จิกดู่ ร่วมมือกับคณะครูโรงเรียนบ้านโพนขวาว ตำบลจิกดู่ อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ ร่วมมือกันจัดกิจกรรม จิ...
ปั่นจักรยานปลูกป่า 3 วัย ตำบลศรีสุข2
มุมมอง 292 หลายเดือนก่อน
ปั่นจักรยานปลูกป่า 3 วัย ใส่ใจกิจกรรมทางกาย อบต.ศรีสุข อบต.ศรีสุข อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จับมือภาคีเครือข่ายชุมชน โรงเรียน ผู้นำชุมชน อสม. ผู้บริหารท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่ อบต.ศรีสุข จัดกิจกรรมโครงการปั่นจักรยาน ปลูกป่า 3 วัย ณ บริเวณป่าบ้านอีต้อม โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ผู้บริหารโรงเรียน คุณครู เด็กนักเรียน อสม. ผู้บริหารท้องถิ่นและเจ้าหน้าที่ อบต.ศรีสุข จำนวน 72...
PA ฉลาดเล่นสนุกเรียน
มุมมอง 73 หลายเดือนก่อน
อบต.จิกดู่ จัดกิจกรรม kick off การขับเคลื่อนพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียน วันที่ 18 กันยายน 2567 เวลา 08.20 น. ณ บริเวณหน้าเสาธง โรงเรียนบ้านโพนนขวาว ตำบลจิกดู่ อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ โดยนายสุธรรม ยืนสุข นายกองค์การบริหารส่วนตำบลจิกดู่ สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดกิจกรรม kick off การขับเคลื่อนพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียน โดยเจ้าหน้าที่ อบต.จิกดู่ ร่วมมือก...
กิจกรรมทางกาย PA หมากเก็บ Active Classroom
มุมมอง 53 หลายเดือนก่อน
คณะทำงานโครงการฯกิจกรรมทางกาย อบต.จิกดู่ จัดกิจกรรม kick off การขับเคลื่อนพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียน วันที่ 19 กันยายน 2567 เวลา 08.30 น. ณ โรงเรียนบ้านโนนผักหวาน ตำบลจิกดู่ อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ โดยนายสุธรรม ยืนสุข นายกองค์การบริหารส่วนตำบลจิกดู่ สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดกิจกรรม kick off การขับเคลื่อนพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียน โดยเจ้าหน้าที่ อบต...
เตาเผาขยะไร้ควัน นวัตกรรมจัดการขยะตำบลเหล่าบก
มุมมอง 703 หลายเดือนก่อน
เตาเผาขยะไร้ควัน พ่นละอองน้ำ ตำบลเหล่าบก เป็นการจัดการขยะทั่วไป หลังจากชาวบ้านตำบลเหล่าบกจำนวน 12 หมู่บ้าน พบปัญหาประเภทขยะทั่วไปหรือขยะพลาสติกจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ซึ่งเกิดจากขยะที่นำเข้าของรถตลาดพุ่มพวง หรือ รถเร่ และการจัดตั้งตลาดนัดในชุมชน ทำให้มีขยะประเภททั่วไป ขยะพลาสติกมากยิ่งขึ้น การรวบรวมจากหมู่บ้านไปสู่เตาเผาขยะ จะต้องอาศัยการบริหารจัดการของคนในชุมชนร่วมมือกันเพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน...
สวน 3 วัย (วัยเด็ก วัยทำงาน วัยสูงอายุ) ใส่ใจ 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
มุมมอง 384 หลายเดือนก่อน
เป็นสวน 3 วัย (วัยเด็ก วัยทำงาน วัยสูงอายุ) ใส่ใจ 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) ณ สวนเฉลิมพระเกียรติเทศบาลตำบลหัวตะพาน อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ
เวทีสาธารณะสวน 3 วัยใส่ใจ 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) เทศบาลตำบลหัวตะพาน
มุมมอง 944 หลายเดือนก่อน
เป็นเวทีสาธารณะสวน 3 วัยใส่ใจ 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)เทศบาลตำบลหัวตะพาน โดยมีนายประหยัด คูณมี นายอำเภอหัวตะพาน เป็นประธานเปิดงานซึ่งมีการจัดแสดงกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมทางกายของกลุ่ม ชมรม เครือข่ายมวลชนในแต่ละชุมชน และจัดเวทีเสวนาประเด็นสุขภาวะกับกิจกรรมทางกาย ซึ่งผู้ร่วมรายการประกอบด้วย นายธนิต ชาววัง นายกเทศมนตรีตำบลหัวตะพาน นายสุธรรม ยืนสุข นายกอบต.จิกดู่ นายเชวงศักดิ์ พุทธโธ ...
กิจกรรม Kick Off เวทีสาธารณะ สวนฉำฉาพาสุขสันต์
มุมมอง 704 หลายเดือนก่อน
ขอเชิญเข้าร่วมกิจกรรม Kick Off เวทีสาธารณะ สวนฉำฉาพาสุขสันต์ เพื่อสานฝันปันรัก ในวันที่ 13 กันยายน 67 เวลา 16.00 น.เป็นต้นไป ณ ลานหลังที่ว่าการอำเภอเขื่องใน ลานสวนฉำฉา ลานหน้าหอประชุมอำเภอเขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี เชิญ "ชิม ช๊อป"
จักสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกระตุ้นพัฒนาการเด็กสมวัย
มุมมอง 1098 หลายเดือนก่อน
เป็นการนำเครื่องจักสานที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ของพ่อครูในชุมชน คือ พ่อเพลิน พูลพล ปราชญ์ชุมชนตำบลเหล่าเสือโก้ก อำเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี โดยนำความรู้ในเรื่องของจักสาน เช่น การทำกังหันลม การทำเปลนอนเด็ก การสานนก การสานปลา การสานตะกร้อ การทำม้าก้านกล้วย การทำปืนก้านกล้วย การทำจักรยานจากกิ่งไม้ ซึ่งนำมาให้เด็กเล่นด้วยกัน สร้างและส่งเสริมพัฒนาการเด็กผ่านเครื่องจักสานภูมิปัญญาท้องถิ่...
ศิลปะส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาและการใช้ภาษา
มุมมอง 138 หลายเดือนก่อน
เป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยของโรงเรียนอนุบาล ๔ วัดใต้พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ เทศบาลนครอุบลราชธานี โดยการใช้ศิลปะมาให้เด็กฝึกฝนและกระตุ้นพัฒนาการของเด็กๆทั้งทางด้านเข้าใจภาษาและการใช้ภาษา
ผลการดำเนินงานมูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานีปี 66
มุมมอง 88 หลายเดือนก่อน
มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี จัดตั้งมานานกว่า ๒๐ ปี โดยจัดตั้งเมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ซึ่งมีความมุ่งหวัง ที่จะ “สร้างประชาชนให้เข้มแข็ง ยกระดับเป็นพลเมืองไทย” นำโดยนายแพทย์นิรันทร์ พิทักษ์วัชระ ประธานมูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี ร่วมมือกับคณะกรรมการที่มีความหลากหลายในด้านอาชีพ มารวมตัวกันจัดตั้งเป็นองค์กรสาธารณะประโยชน์ที่ไม่แสวงหาผลกำไร เน้นการทำงานด้านวิชาการ สร้างองค์ความรู้...
สรุปผลการดำเนินงานมูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานีปี66
มุมมอง 79 หลายเดือนก่อน
เป็นการสรุปผลการดำเนินงานมูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานีปี66
นวัตกรรมการจัดทำตุงส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย
มุมมอง 569 หลายเดือนก่อน
นวัตกรรมการจัดทำ "ตุง" กระตุ้นพัฒนาการเด็กสมวัย จากแหล่งเรียนรู้พัฒนาการเด็กสมวัยตำบลเหล่าเสือโก้ก อำเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นการรวบรวมภูมิปัญญาชุมชนส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยในแหล่งเรียนรู้ตำบลเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งได้นำนวัตกรรมภูมิปัญญาในชุมชน คือ "การทำตุง" มาช่วยจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการเด็กให้สมวัย "ตุง" เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ถูกถ่ายทอดมานาน ตุงจะใช้ในการตกแต...
นวัตกรรมผ้ามัดย้อมกระตุ้นพัฒนาการเด็กสมวัย
มุมมอง 569 หลายเดือนก่อน
เป็นการรวบรวมภูมิปัญญาชุมชนส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยในแหล่งเรียนรู้ตำบลเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งได้นำนวัตกรรมภูมิปัญญาในชุมชน คือ "การทำผ้ามัดย้อม" มาช่วยจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการเด็กให้สมวัย ผ้ามัดย้อม เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ในพื้นที่หมู่บ้านของอีสานด้วยพื้นที่ตำบลเหล่าเสือโก้กนั้น มีวัตถุดิบจากธรรมชาติที่หลากหลาย เช่น ใบมะม่วงเปลือกเค็ง ชาวบ้านได้นำวัตถุด...
วิสาหกิจชุมชนตำบลโนนโหนนสู่การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
มุมมอง 769 หลายเดือนก่อน
วิสาหกิจชุมชนตำบลโนนโหนนสู่การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดศรีสะเกษ
มุมมอง 12ปีที่แล้ว
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดศรีสะเกษ
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดอุบลราชธานี
มุมมอง 19ปีที่แล้ว
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดอุบลราชธานี
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดอำนาจเจริญ
มุมมอง 38ปีที่แล้ว
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดอำนาจเจริญ
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดยโสธร
มุมมอง 37ปีที่แล้ว
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดยโสธร
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดมุกดาหาร
มุมมอง 15ปีที่แล้ว
สรุปบทเรียนธรรมนูญสู้ภัยโควิด19 จังหวัดมุกดาหาร
ศูนย์ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลแสนสุข
มุมมอง 31ปีที่แล้ว
ศูนย์ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลแสนสุข
นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ ประธาน กขป.เขต 10 สรุปประเด็นกระบวนการเชื่อมต่อระบบสุขภาพ
มุมมอง 82 ปีที่แล้ว
นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ ประธาน กขป.เขต 10 สรุปประเด็นกระบวนการเชื่อมต่อระบบสุขภาพ
นพ.ปรีดา แต้อารักษ์ รองเลขาธิการ คสช.การหนุนเสริมด้วยธรรมนูญสู้โควิด19
มุมมอง 32 ปีที่แล้ว
นพ.ปรีดา แต้อารักษ์ รองเลขาธิการ คสช.การหนุนเสริมด้วยธรรมนูญสู้โควิด19
นายนพ พงษ์พลาดิศัย รองผู้ว่าฯศรีสะเกษ บอกกล่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ
มุมมอง 82 ปีที่แล้ว
นายนพ พงษ์พลาดิศัย รองผู้ว่าฯศรีสะเกษ บอกกล่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ
เสียงดีม่วนหลาย
Wow very nice
ສຳລຳໄປຫາຄວາຍແອະ
ลายแคนตังหวายบ่เป็นจังชี้
มันบ่ดั้ยมีทำนองเดียวเด้ครับ
เพราะมากครับ
ตอนนี้เป็นนางเอก สาวลาวใต้
สื่อเยาวชนเมืองธรรมเกษตร สู้ๆ
❤👍👍
ม่วนอิหลีแท้เดัอตังหวายลาว
Need more than just the khaen for Lum Tangvai. All instruments played together would be wonderful to dance to. Let me guess... Judging by comments from people posting on here, this type of Lum is Thai but claimed by Laos?? If so, ignorance is a bliss and pathetic.
ม่วนๆ
ลำโลย เคียงใจสะใบพร
ลำจังหวะนี้มีมานับ1000ปีแหล้ว
จริงเหรอครับ ผมอยากรู้ว่ามันเริ่มจากที่ไหนครับ
ม่วนแท้เน้อ อิแม่เอ้ย
ซาติเเตกม้าง.. .เเม้นย้อนลาวนำกัน เเตกความสามัคคี ..จับมีดพ่าไล้ปาดฆ่าเเกงกันเอง อาณาจักรยาวใหญ่ก้วงเเตกม่างเป็นสองเเผ่น..พุ้นเย้อ.. เถิงฝั่งขัว ผั่งซ้ายสายเเนนเเท้เเม่เดี่ยวกัน....ซั้นเเหล้ว
ให้พี่น้องยืนหมั้น10000ปี. 55.
อิดี๋หนาคนงามหนา เว่าเหน่อๆ
....great lum...love it .
เสียงดีคัก..
ญวกๆๆ
ม่วนๆ
ມ່ວນແທ້ນ້ໍ
ດີໃຈເດີ່ທີ່ຄົນຝັ່ງຂວາມີໂອກາດສຶກສາ. ຮູ້ຕົ້ນຕະກູນຂອງເຈົ້າຂອງ
ຄົນອິສານຄົນລາວກ່ໍຄືອານາຈັກລ້ານຊ້າງນັ້ນລະ
นางเจ็บอกพอปานไฟไหม้ เจ็บใจพอปานฟ้าผ่า มักคัก
ຂ້ານ້ອຍກະລາວຄືກັນເດີ້ເຈົ້າແມ້ວ່າສິເກິດໃນໄທຍຈັງໄດກະລາວຄືເກົ່າ
อีสาน..คือซือที่ตั้งมาใหม่หลังจากที่เป็นของไทย...จากนั้นคนในฝั่งขวาเลยเอิ่นเจ่าของว่าคนอีสาน...เเต่เเท่เดิมเเล้ว..คนอีสานใซ้สรรพนามเเทนเจ่าของว่าอิหยัง?.....
ข้าวปุ่น อร่อยดี ลาวบ่ครับ
ข้าวปุ่น อร่อยดี กะเอิ้น วา ล้าว นี่ละ
อีสานกับลาวคึกันหั้นละ
เพิ่นลำห่าวดีเนาะ
ฮ่าๆๆๆๆ ข่อยกำลังสิคอมเม้นท์อยู่ #ห่าวดีอยู่ เป็นตาหย่อนโหย่นๆ
เมึองเดียวกันเลย เมึองโพนทองคึอกัน
ສຽງດີເເທ້ ໄດ້ຟັງເເລ້ວກະອຢາກລຸກຂຶ່ນຟ້ອນໃສ່
Bad singer.
ม่วนดีคับ ซุมเถียงกันนั่นเซาเถียงกันใส่นี่สะผมว่าอ่านไปอ่านมามันกะคืออวดความฮุ้ใส่กันนัดกันประชุมโลดไปศึกษามาดีดีอย่าเอาส่ำหางอึ่งมาว่ากัน
ม่วนแฮง
เปันลาวแล้วลาวบ่ลาวเขากะตู่ คนลาวเฮาจ่งฮว่มมือกันกอบกู้ให้คนฮู้ว่านี้ล่ะอา้ยลาว แท้เน้ออออออออออ สะบายดี!!!! LAO CHAMPASAK 100%
ลำตังหวาย ลำสีพันดอน ลำคอนสะหวัน นั้นมันเป็นการขับลำพื้นถิ่นของสปป.ลาวครับ แต่ชาวอีสานได้นำเอามาขับร้องและทำให้การขับลำเหล่านี้แพร่หลายในภาคอีสาน #ซึ่งแต่เดิมอีสานและสปป.ลาวก็คือล้านช้างร่มขาวเช่นกัน ดังนั้นการขับลำจึงศิลปะแลกเปลี่ยน อีสานนำของลาวมาร้อง ลาวก็นำของอีสานไปร้องเช่นกัน ซึ่งในอีสานจะมีการลำทำนองต่างๆดังนี้ ลำทำนองขอนแก่น ลำทำนองอุบลราชธานี ลำทำนองกาฬสินธุ์ ลำทำนองมหาสารคาม ซึ่งทำนองลำเหล่านี้ยังมีการนำมาประยุกต์ และแตกแขนงออกไปอีกเช่น ทำนองขอนแก่น-ชุมแพ ทำนองสารคาม-พุทไธสงค์ ทำนองชัยภูมิ-ภูเวียง ทำนองกาฬสินธุ์-กาเต้นก้อน และลำทำนองต่างๆอีกมากมาย #หากผิดพลาดประการใดโปรดอภัยมา ณ ที่นี้รับ
อีศานศิลป์ ถิ่นเมืองศรี อยากฟังทำนองนองลำฝั่งนั้นจัง มีลิ้งให้ฟังไหมค่ะ?
ทำนองหมอลำไทเลย แมงตับเต่า แถวเมืองเลยบ้านผมเองม่วนๆ
ลำทำนองแบบลาวล้านช้างหลวงพระบางเมืองเลยนำแด่ครับอ้าย
พุทไธสง เขียนแบบนี้ครับ
จะหยั่งกะช่าง แต่ที่แน่นอนเปันลาวคืกัน
เสียงดีๆ
ข่อยว่าทางที่ดีควรสิใช้ว่านำทองจำปาสักย้อนวาลาวฝั่งขวา(อีสาน)กะคือล้านซ้างคือกัน
Meener losafa an แมนครับ
+Meener losafa an ลำอุบลก็มีหลายแบบ พวกตังหวายก็มีตามอำเภอติดริมโขง ตามอำเภอติดจำปาสัก ลำทำนองตังหวาย น่าเสียดาย กูพูดกับคนจำปาสักสำเนียงอุบลผม ไม่ค่อยรู้เรื่องกัน แถมจมุกแหละหน้าตาก็ไม่เหมือนละ เอ๊ จะเป็นคน สปป.ล้านช้างได้บ่น้อ ก้ากๆๆๆๆ
โดยขะนอย
อีสานนี่ก็ล้านช้างเด้อครับเปลี่ยนชื่อเพลงว่าลำทำนอง สปป ลาวสา
แล้ว สปป ลาวบ่แม่นล้านช้างบ้อ??
จำปาสักแดนใต้ ม่วนคัก
จำปาสักแดนใต้ ม่วนคัก
วัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนน สายสองสี่
ลดชนลดตาย เด็ก มอ อุบลราชธานี สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนน
อะเลิท จุง
ม่วนได๋คับนี่
เสียงชัดเจนดีมาก ม่วนครับ
โอมเต้ากันเด้ออ พี่น้องลาวเวียงจันทร์ ลาวอิสานเฮา
ลำม่วนคัก เพลงนี้น่าฟังมาก รู้สึกได้ถึงความเซ็กซี่เล็กๆ ร้องได้น่ารักมากๆ
ม่วนน้อ
ม่วนคัก