tirachat sewatanon
tirachat sewatanon
  • 72
  • 26 870
ครูแพทย์ภูธร Ep 42 แลกเปลี่ยนมุมมองการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างสหวิชาชีพสุขภาพจากออสเตรเลียสู่ไทย
ห่างหายกันไปนาน ผมกับ อ.สรรัตน์ กลับมาในครูแพทย์ภูธรต่อจากครั้งก่อนที่ได้คุยกับ อ.อุษาพรรณ เกี่ยวกับ การเรียนรู้สหวิชาชีพและการใช้สถานการณ์จำลองซึ่งอาจารย์มีประสบการณ์จากประเทศสหรัฐอเมริกา
ครั้งนี้ผมได้มีโอกาสมาศึกษาด้าน Simulation ที่ประเทศออสเตรเลีย และเรากำลังอยู่บนเส้นทางการจัด workshop simulation and IPE ที่ร่วมกับมูลนิธิพัฒนาการศึกษาบุคลากรสุขภาพแห่งชาติ จึงอยากแลกเปลี่ยนมุมมองว่าไทยเหมือนหรือต่างจากออสเตรเลียอย่างไร วิธีคิดและกระบวนการใดบ้างที่ใช้ในการพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกันระหว่างสหวิชาชีพ การเรียนร่วมกันจะทำอย่างไรให้ได้ประโยชน์สูงสุด
ถ้าจะสรุปง่ายๆ อาจกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างสหวิชาชีพเพื่อเตรียมพร้อมให้มีทักษะในการทำงานร่วมกันเพื่อเข้าสู่เวชปฏิบัติที่มีระบบการทำงานร่วมกันโดยเป้าหมายเพื่อพัฒนาผลลัพธ์ทางสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ที่ออสเตรเลีย เริ่ม IPE และ IPC ไม่ใช่ที่กระบวนการแต่อยู่ที่การตั้งผลลัพธ์และสร้างโอกาสให้ผู้มีส่วนกับผลลัพธ์นั้นได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้และอยากที่จะก้าวไปสู่เป้าหมายไปด้วยกันทั้งองค์กร
ร่วมแลกเปลี่ยนรู้ไปด้วยกันนะครับ
มุมมอง: 63

วีดีโอ

1st-day Fellow chest MNRH Korat year 2022
มุมมอง 3422 ปีที่แล้ว
เริ่มงานวันแรกสำหรับการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดโรคระบบทางเดินหายใจและภาวะวิกฤตทางเดินหายใจ หน่วยโรคทางเดินหายใจและภาวะวิกฤต รพ.มหาราชนครราชสีมา ตั้งใจที่จะสร้างแพทย์โรคปอดที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมั่นใจ และในขณะเดียวกันผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาต้องมีความปลอดภัยจากกระบวนการเรียนการสอน 1st-day Fellow chest training session จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นจุดเริ่มต้นให้แพทย์ประจำบ้านต่อยอดมั่นใจที่จะดูแลผ...
ครูแพทย์ภูธร podcast Ep41 Why simulation is good for interprofessional education กับ ผศ.อุษาพรรณ
มุมมอง 1122 ปีที่แล้ว
การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างสหวิชาชีพ เป้าหมายเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย แต่จะทำอย่างไรที่จะเปลี่ยนจากการรู้ เข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญ มาเป็นการปฏิบัติงานร่วมกันจริงในการทำงาน การใช้สถานการณ์จำลองเป็นอีกเครื่องมือที่จะช่วยให้ผู้เรียนเปลี่ยนผ่านจากความรู้ ความเข้าใจสู่การทดลองปฏิบัติ เพื่อเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ เพื่อให้พร้อมสู่การทำงานร่วมกันในโลกการทำงานจริง ครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก ผศ.อุษาพรรณ...
ครูแพทย์ภูธร podcast Ep 40 Thinking fast and slow คิดอย่างไรไม่ให้ตกหลุม
มุมมอง 3652 ปีที่แล้ว
คุยกันต่อกับ อ.นพ.ชวลิต ชยางศุ ที่จะมาช่วยกันพาผู้ฟัง เรียนรู้เกี่ยวกับกลไกการคิดวิเคราะห์ Thinking fast and slow ที่เราอาจรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว และบางทีเราก็ตกหลุมพรางของการคิดโดยไม่รู้ตัว มารู้เท่าทัน หลุมพรางอคติ ทำให้ฉุกคิด ต่อมเอ๊ะ ทำงาน เป็น Thinking fast and slow ที่มีคุณภาพ และเราจะสร้างให้เกิดขึ้นกับนักศึกษาได้อย่างไร
ครูแพทย์ภูธร Podcast Ep 39 ต่อยอดการเรียนรู้แพทย์ชุมชนด้วยหลักสูตร NCDs Care
มุมมอง 1482 ปีที่แล้ว
NCDs เป็นกลุ่มโรคที่มีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์แบบ ทำให้อัตราการเกิดโรคและอัตราการตายเพิ่มมากขึ้นในทุกๆปี มากไปกว่านั้นโรคและภาวะแทรกซ้อนสามารถป้องกันได้หากได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง จึงมีความจำเป็นต้องเตรียมพร้อมบุคลากรให้มีความสามารถในการดูแลโดยเฉพาะแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนที่เป็นแพทย์ที่ใกล้ชิดและเข้าถึงได้มากที่สุด อย่างไรก็ตามความก้าวหน้าของความรู้ ทำให้...
ครูแพทย์ภูธร Podcast Ep 38 ส่งตรวจและแปลผลอย่างสมเหตุสมผล เรียนรู้ ATK และ RT-PCR COVID-19
มุมมอง 1002 ปีที่แล้ว
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้สามารถตรวจวินิจฉัยได้มากขึ้น ละเอียดขึ้น แต่ในทางกลับกันก็เหมือนดาบสองคม ที่แพทย์อาจจะส่งตรวจเพิ่มเติมก่อนคิดว่าจะเป็นโรคอะไรได้บ้าง และสถานการณ์ปัจจุบันที่การตรวจค้นหาเชื้อ COVID-19 มีบทบาทมากขึ้น และประชาชนเข้าถึงได้มากขึ้นทั้ง ATK และ RT-PCR สิ่งใดที่บุคลากรทางสาธารณสุขและประชาชน ควรรู้เท่าทันทั้งในการส่งตรวจและการแปลผลดังกล่าว เรียนรู้ไปกับ นพ.พิชัยสิริ นวลมณี แ...
Adjust ventilator in airway obstruction
มุมมอง 1862 ปีที่แล้ว
Adjust ventilator in airway obstruction
Ineffective triggering
มุมมอง 942 ปีที่แล้ว
Ineffective triggering
ครูแพทย์ภูธร podcast Ep 37 ทบทวนคุณค่าและค้นหา Hidden curriculum ที่หายไปหลัง COVID-19
มุมมอง 922 ปีที่แล้ว
ชวน อ.สรรัตน์ พูดคุยถึงคุณค่าของการสอนนักศึกษาแพทย์ที่หล่นหายไปในช่วง COVID-19 ที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยพูดถึง Hidden curriculum คือหลักสูตรการเรียนรู้ที่ซ่อนไว้แต่นักศึกษาจะได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งได้หายไป สิ่งใดที่เราไม่ควรทิ้งไว้ สิ่งใดที่เราควรตระหนักและช่วยกันฟื้นฟู เสริมสร้างให้นักศึกษาแพทย์รุ่นถัดๆไป สามารถทำงานอย่างมีความสุข และที่สำคัญได้ช่วยให้ประชาชนได้เข้าถึงสุขภาวะท...
Secretion in ventilator circuit
มุมมอง 1282 ปีที่แล้ว
Secretion in ventilator circuit
How to adjust neumovent ventilator in ARDS
มุมมอง 2592 ปีที่แล้ว
How to adjust neumovent ventilator in ARDS
PEEP titration in covid-19 patient
มุมมอง 1902 ปีที่แล้ว
PEEP titration in covid-19 patient
ASV mode
มุมมอง 872 ปีที่แล้ว
ASV mode
Pcv -vcv in ards
มุมมอง 1913 ปีที่แล้ว
Pcv -vcv in ards
cmv in ards
มุมมอง 843 ปีที่แล้ว
cmv in ards
ครูแพทย์ภูธร Ep 36 พูดคุยเรื่องจริยธรรมวิชาชีพแพทย์ ผ่านกลไกสมอง กับ อ.นพ.ชัยวิวัฒน์ ตุงคะเสรีรักษ์
มุมมอง 1943 ปีที่แล้ว
ครูแพทย์ภูธร Ep 36 พูดคุยเรื่องจริยธรรมวิชาชีพแพทย์ ผ่านกลไกสมอง กับ อ.นพ.ชัยวิวัฒน์ ตุงคะเสรีรักษ์
ventilator setting in prone position
มุมมอง 2243 ปีที่แล้ว
ventilator setting in prone position
ARDS case 2
มุมมอง 1703 ปีที่แล้ว
ARDS case 2
ARDS case 1
มุมมอง 1.1K3 ปีที่แล้ว
ARDS case 1
Weaning ventilator in COPD
มุมมอง 4223 ปีที่แล้ว
Weaning ventilator in COPD
Ventilator setting in Sepsis
มุมมอง 2983 ปีที่แล้ว
Ventilator setting in Sepsis
Ventilator with cuff leakage
มุมมอง 2.8K3 ปีที่แล้ว
Ventilator with cuff leakage
Ventilator asynchrony
มุมมอง 1833 ปีที่แล้ว
Ventilator asynchrony
Bronchoscopy case 2
มุมมอง 673 ปีที่แล้ว
Bronchoscopy case 2
Bronchscopy case 1
มุมมอง 433 ปีที่แล้ว
Bronchscopy case 1
Bedside training: how to train setting ventilator
มุมมอง 1063 ปีที่แล้ว
Bedside training: how to train setting ventilator
Ultrasound guided thoracocentesis
มุมมอง 1.4K3 ปีที่แล้ว
Ultrasound guided thoracocentesis
Transthoracic needle biopsy
มุมมอง 8373 ปีที่แล้ว
Transthoracic needle biopsy
Recruitment in ARDS
มุมมอง 1.5K3 ปีที่แล้ว
Recruitment in ARDS
ครูแพทย์ภูธร podcast Ep 35 คบไฟแห่งความหวัง ฝ่าวิกฤตด้วยวิถีชาวญี่ปุ่น กับ อ.ดร.กฤตินี พงษ์ธนเลิศ
มุมมอง 1223 ปีที่แล้ว
ครูแพทย์ภูธร podcast Ep 35 คบไฟแห่งความหวัง ฝ่าวิกฤตด้วยวิถีชาวญี่ปุ่น กับ อ.ดร.กฤตินี พงษ์ธนเลิศ

ความคิดเห็น

  • @niti2517
    @niti2517 4 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับอาจารย์หมอ

  • @auxin0072
    @auxin0072 5 หลายเดือนก่อน

    เพลงดังกำลังดีเลยครับ❤

  • @แสงสุณีกิ่งเกตุ
    @แสงสุณีกิ่งเกตุ 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณอาจารย์ค่ะ

  • @teewutt
    @teewutt ปีที่แล้ว

    ทราบมาว่าแพทย์ไทยนิยมใช้ซาเทียมาก อยากทราบว่าใครหรือหน่วยงานใดเป็นผู้กำหนดแนะนำให้ใช้หรืออยู่ที่ดุลพินิจความถนัดของแพทย์แต่ละท่านครับ

    • @niti2517
      @niti2517 4 หลายเดือนก่อน

      เป็นแนวจิตวิเคราะห์จากฟรอยด์ จิตแพทย์ รุ่นแรกของโลก แนวจิตวิเคราะห์ จิตบำบัด อธิบาย🎉ให้เข้าใจมนุษย์ ได้ดี กว่าแนวอื่นโดยเห็นภาพง่าย

  • @บุญตาหาญกลับ-ง9พ
    @บุญตาหาญกลับ-ง9พ ปีที่แล้ว

    ขอบคุณอาจารย์ทั้ง3ท่านมากค่ะ มีโอกาสได้เข้าอบรม2ครั้งค่ะ ดีมากๆเลยค่ะ❤❤❤

  • @ezipnary
    @ezipnary 2 ปีที่แล้ว

    ข้อสอบ NT หมั่นหาแต่ fast thinking มาออกข้อสอบสะด้วยสิครับ T T

  • @chompookaj4289
    @chompookaj4289 2 ปีที่แล้ว

    สมัย intern เคยใช้ทุน รพ มหาราช ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่าน ที่ถ่ายทอดทั้งความรู้ ประสบการณ์ดีๆ รวมถึงการเป็น role model ในการเป็นแพทย์นะคะ 🙏🏻🙏🏻

  • @ยิ่งโตยิ่งสุขโดยพญ.ทานตะวัน

    ดีมากเลยค่ะ ขอบพระคุณมากค่ะ

    • @tirachatsewatanon
      @tirachatsewatanon 2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณที่ช่วยแชร์ต่อไปครับ อยากชวนอาจารย์แลกเปลี่ยนกันครับ โดยเฉพาะ นำ mindfulness มาพัฒนา fast thinking ให้มีประสิทธิภาพครับ แนะนำตอนเก่าๆ ที่เคยพูดเรื่อง mindfulness ครับ th-cam.com/video/MjQl4VmSL7g/w-d-xo.html

    • @ยิ่งโตยิ่งสุขโดยพญ.ทานตะวัน
      @ยิ่งโตยิ่งสุขโดยพญ.ทานตะวัน 2 ปีที่แล้ว

      @@tirachatsewatanon ขอบพระคุณ อ.ถิรชาติ มากเลยค่ะ ยินดีมากๆค่ะ และ ได้เข้าไปดูคลิปนี้ "ครูแพทย์ภูธร Ep 26 พัฒนาสติกับการเรียนรู้และการทำงานสุขภาพ Feat. อ.นพ.อดิศร จงหมื่นไวย์"ที่อาจารย์กรุณาแชร์มากเนื้อหาดีมากๆค่ะ ได้ประโยชน์มากๆค่ะ

  • @monthalekdee7136
    @monthalekdee7136 2 ปีที่แล้ว

    ชอบมากค่ะได้รับความรู้ในการไปปรับใช้ในการช่วยเหลือผู้รับบริการ

  • @chanatdapoowichai361
    @chanatdapoowichai361 3 ปีที่แล้ว

    👍👍👍

  • @วิลาวัลย์สุราฤทธิ์

    อยากจะปรึกษา

  • @วิลาวัลย์สุราฤทธิ์

    วัดดีค่ะ

  • @be-sriprapailampang5553
    @be-sriprapailampang5553 3 ปีที่แล้ว

    เป็นการแชร์มุมมองและแนวคิดที่ดีและเป็นประโยชน์มากๆค่ะ ขอบพระคุณอาจารย์หมอทั้งสามท่านค่ะ

  • @behindyou2025
    @behindyou2025 3 ปีที่แล้ว

    เป็นประโยชน์มาก ขอบคุณนะคะ

  • @nuttri-5599
    @nuttri-5599 3 ปีที่แล้ว

    ชอบมากคะ เข้าใจมากขึ้น ขอบคุณคะ

  • @videdaviddavi6035
    @videdaviddavi6035 3 ปีที่แล้ว

    Woow woow 😍💋 💝💖❤️

  • @usasirith
    @usasirith 4 ปีที่แล้ว

    ยอดเยี่ยมคะ

  • @พระศ้กดิ์ชัยกิตติชโย

    ใช่ เราตีความ นี่สำคัญมากที่สุดเลย ทำให้เข้าใจต่างกัน และที่จริง ก็มาทำความเข้าใจกันได้ แต่ความขัดแย้ง และโจมตีกันนี้ เจ็บทั้งคู่

    • @tirachatsewatanon
      @tirachatsewatanon 4 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณท่านครับ เรามองเห็นสิ่งเดียวกันแต่ด้วยพื้นฐานและประสบการณ์ที่ต่างกัน ย่อมเกิดความเห็นต่าง จะอันตรายมากถ้าเราอยากให้เชื่อกันโดยต่างคนต่างพูดโดยไม่ได้ฟังอย่างแท้จริง และขาดความจริงใจ

    • @พระศ้กดิ์ชัยกิตติชโย
      @พระศ้กดิ์ชัยกิตติชโย 4 ปีที่แล้ว

      @@tirachatsewatanon ความจริงใจ ความหวังดีต่อกันก็สำคัญ ที่สำคัญที่สุดคือ เราต้องอยู่ร่วมกัน แล้วความขัดแย้ง ทะเลาะวิวาทมันก็จะทำลายล้างทั้งหมด ดังนั้น ต้องมาแสวงหาความจริงร่วมกัน และร่วมมือกัน ร่างกายของเราเองอยู่ได้เป็นปกติสุข เพราะทุกองคาพยพ มีความร่วมมือกันอย่างแน่นแฟ้น สม่ำเสมอ สามัคคีคือเป้าหมายที่สำคัญที่สุด

  • @ทานตะวันอวิรุทธ์วรกุล

    ดีมากๆเลยค่ะ :)

  • @อภิชาติเอกัคคตาจิต

    ขอบคุณอาจารย์ถิรชาติ อาจารย์สายลักษณ์และอาจารย์สรรัตน์ครับ

  • @kittichayo3199
    @kittichayo3199 4 ปีที่แล้ว

    รู้สึกยินดี ที่มีการนำไปสอน นศพ. พวกเขาจะเป็นคนที่มีคุณภาพ เป็นตัวอย่างเป็นครูที่ดี เป็นหมอที่ดีของสังคมต่อไป

  • @prakarnongartboon3118
    @prakarnongartboon3118 4 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @prakarnongartboon3118
    @prakarnongartboon3118 4 ปีที่แล้ว

    ชอบมากเลยครับ อาจารย์ อยากเรียนรู้การสอนแบบTLมากขึ้นเลยครับ

  • @Glucargon
    @Glucargon 4 ปีที่แล้ว

    ฟังตอนนี้แล้ว มองเห็น limbic systems ขึ้นมาเลยครับ / short term-long term memory - emotional relate : papez circuit ที่เคยเรียนรู้ไว้เมื่อนานมาแล้ว โชคดีจริงๆ ที่ผมพึ่งได้เรียนรู้คำว่า resilince มาหมาดๆๆ เลย เข้าใจว่าต้องทำอย่างไร ที่ อจ.ว่า แต่ในวัย ของ นร. ที่พึ่งมีการ เติบโตของสมองฝั่ง frontal lobe ที่เป็น executative task เอง ตัวกวนจาก hormone สมองที่กำลังสร้างเครือข่าย connection กับส่วนอื่นๆ ทั้งที่เป็น limbic systems / subcortical strcture ก็อยู่ในระหว่างการพัฒนา สร้างเครื่อข่ายของ เส้นใยประสาทอยู่ ผมว่า นร. สามารถ ล้มแล้วลุก ขึ้นมาได้แน่ครับ แต่ว่าแต่ละคนใช้เวลาไม่เท่ากัน เช่นในตัวอย่าง บางคนเห็นเพื่อนทำได้ดีกว่ายอมรับว่าตัวเองไม่เท่าเพื่อนจริง แต่กลับเลิกไปเลย กว่าจะ move on หรือลุกขึ้นมาสู้ เพื่อพัฒนาตัวเองได้ อาจจะต้องใช้เวลานาน อาจารย์พอจะมีวิธีเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ discuss ไปก่อนหน้านี้อีกรึเปล่าครับ ว่าจะช่วย นร. ได้อย่างไร

  • @Glucargon
    @Glucargon 4 ปีที่แล้ว

    ผมลองเสนอ .. เหมือนเนื้อหาและวิธีการที่จะสอนนักเรียน มีแยกเป็น 2-3 ส่วน ค่อยมาจัดอีกทีว่าจะเรียงลำดับส่วนไหน ก่อน-หลัง - ส่วน 1 content เนื้อหา * on demand / แบ่งเนื้อหาจัดให้ นักเรียนเห็นภาพรวม / มีการทบทวนความรู้เก่าที่พอเหมาะ ไม่มากไม่น้อยไป / มีการสื่อสารระหว่างครูในการจัดทำเนื้อหาให้ต่อเนื่อง * ถึงจะเป็นลักษณะ one-way comunication ก็ควรจะต้องจัดให้มีช่องทางการสื่อสารเฉพาะ ให้นักเรียนได้ซักถามข้อสงสัยในส่วนของเนื้อหากับอาจารย์ที่สอนได้โดยตรง และเป็นส่วนตัว mindset ที่ว่าก็ถามมาให้เพื่อนๆ เห็นจะได้เรียนรู้ไปด้วยกันทีเดียว อาจจะต้องปรับตามความสะดวกใจของนักเรียน / ส่งเสริมหรือมีช่องทางให้ นร.ได้ discuss กันเองด้วย และครูผู้สอนคอย minitor อยู่ตลอด * ข้อจำกัด : ครูอาจจะยังมี skill IT ไม่เท่ากัน ในการจะจัดบทเรียน สำหรับทาง online / ทั้งครูและนักเรียนส่วนหนึ่งรู้สึกว่ายังไม่พร้อม--> ทำไงได้ล่ะครับก็ต้องลองก่อน ติดขัดอะไรค่อยๆ ช่วยกันแก้ไขทั้งครูช่วยครู ครูช่วยนักเรียน บางทีนักเรียนอาจจะต้องช่วยครูด้วย / เวลาที่ใช้ครูจะมีเวลาให้นักเรียนได้มากพอหรือไม่? - ส่วนที่ 2 การเรียนใน virtual class ชึ่งต้องมี real-time comunicaton / face-to-face * ยังอยู่ในส่วนของการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา เน้นการแก้ปัญหาโดยอาศัยความรู้จากส่วนที่ 1 และอื่นๆ มาช่วยแก้ * ใช้สื่อ และมีเดีย ต่างๆ เข้ามาช่วยในการสื่อสารได้หลากหลาย * ไม่บังคับให้เข้า เพราะเชื่อในศักยภาพการเรียนรู้ ของ นร. แต่ละคน แต่ใช้วิธีการทำให้เด็กตระหนักถึงสิ่งที่เค้าจะได้จาก class (ตรงนี้เราคิดกันเองว่าเค้าน่าจะอยากได้ thinking process จากอาจารย์) เป็นแรงจูงใจเชิงบวก . ตรงนี้ถ้าในมุมมองของผู้สอนผมว่าเยี่ยมเลยนะครับ แต่ หากจะลองคิดตามหลัก design thinking ผมว่าเราน่าจะต้องมี กระบวนการ empathize ถึงความต้องการของผู้เรียนจริงๆ ด้วย ว่าจริงๆ แล้วเค้าอยากได้อะไรจาก class ลักษณะนี้ จะได้ตรงกับความต้องการของเด็กและดึงให้เด็กเข้ามา และยังอยู่กับเรา แม้ว่าอาจจะยังไม่ได้สิ่งที่เราต้องการจะให้ แต่ตราบใดที่เค้ายังอยู่กับเรา เราน่าจะหาทางเติมเต็มในส่วนที่เราอยากได้ให้ แต่ถ้าไม่ตรงความต้องการของเด็กแต่แรก เค้าไปเลยเราไม่มีโอกาศสอนเค้าต่อเลยนะครับ

  • @Glucargon
    @Glucargon 4 ปีที่แล้ว

    ถ้าเราอยากได้ การแก้ปัญหาในเชิง การประยุกต์ใช้ ความรู้จากความรู้เดิมต่อยอดไปเรื่อยๆ และต้องการให้มีกระบวนการคิดที่ดีเป็นเหตุผล ไม่แน่ใจส่วนที่ 1-2 นี่ เรายังเรียนในลักษณะทีละ block ทีละแผนกอยู่เหมือนเดิมหรือไม่ จำเป็นเพียงใด สามารถปรับเปลี่ยนออกจากกรอบเดิมๆ ไม่ต้องตาม block เหมือนอย่างเคยจะดีรึเปล่า ข้อดี-ข้อเสีย อยากเชิญชวนอาจารย์ทุกท่านรวมกันหารือครับ แล้วถ้ายังเป็น block อยู่ step การข้าม block จะดำเนินการอย่างไร แบ่งอาจารย์ออกเป็นชุดสำหรับสอน block 1 กับ 2 ? ซึ่ง อาจารย์จะต้องประสานกัน อย่างที่ อ.สรรัตน์ว่ามีความสำคัญที่จะให้มีความต่อเนื่อง แต่ผมก็เห็นความยุ่งยากบางอย่าง เพราะแต่เดิมเราแบ่งเด็กออกเป็น แต่ละ rotation เรียงลำดับการเรียนไม่เหมือนกัน เช่น med-Sx-Ob อีกกลุ่ม ไป ER-Sx-Pred ถ้าจะต้องวางแผนให้การเรียนมีความต่อเนื่อง แต่ละ block อาจจะต้องคิดกระบวนท่าสำหรับรับมือกับเด็กที่มาจาก ทุก block และคิดกระบวนท่าสำหรับส่งต่อเด็กไป block อื่น ให้ครบอีกที ไม่รู้ผมคิดเยอะไปรึเปล่านะครับ ^^ - ส่วนที่ 3 การเอาใจใส่นักเรียนในฐานะลูกศิษย์ หรือมนุษย์คนหนึ่ง ความเห็นอกเห็นใจ ช่วยเหลือติดตาม * คนที่เป็น modulator หรือติดตามเด็ก ในส่วนนี้ ต้องมี mindset ที่ไม่ตัดสิน นร. ก่อนครับ ไม่ตัดสินว่าเอ็งขี้เกียจ ไม่เอาไหน ไม่รับผิดชอบ หรือแม้แต่ตัดสินในทางดี เช่นขยัน เก่ง รับผิดชอบดี ก็ไม่ควร (ไม่รู้ยากรึเปล่า แต่ถ้าเป็นไปได้ผมอยากให้เป็นคนละคนกันผู้สอน ส่วน 1-2) เพราะกระบวนการสอนและวัดผล มันบังคับให้ครูที่สอนเป็นผู้ตัดสิน ผู้เรียนอยากหลีกเลี่ยง...ไม่ได้ * ทำอย่างไรให้เกิดความไว้วางใจ ที่ นร.จะสามารถ ให้ข้อมูลของตัวเองได้ รูปแบบที่เอาเด็กมารวมกันแล้วคุยรวมทีเดียวทั้งหมด อาจจะไม่เหมาะสำหรับทุกคน จะต้องออกแบบให้มีช่องทางส่วนตัวที่ นร.สบายใจ ในการปรึกษาปัญหาต่างๆ ..ซึ่งถ้าทำโดยคนๆ เดียวอาจจะหนักไป ถ้าทำแบบเป็นกลุ่มอาจารย์ช่วยๆ กันหลายๆ คน น่าจะพอไหวขึ้นนะครับ

  • @Glucargon
    @Glucargon 4 ปีที่แล้ว

    การวัดผล OKR ต้องมาแล้วล่ะครับขนาดนี้... ฟังแล้วผมนี่ตื่นเต้นไปด้วยเลยครับ อยากไปเรียนใน class online นี้ด้วยใหม่อีกครั้งเลยครับ แล้วก็อยากเรียนรู้การทำจัดห้องเรียน online บ้าง รอตอนที่ จะเห็นหน้า ท่านผู้ดำเนินรายการอยู่นะครับ

  • @Glucargon
    @Glucargon 4 ปีที่แล้ว

    ตอนนี้ key words มาเต็มเลยครับ disruption / reflection / growth mindset / ---->> ดีว่าศึกษามาบ้างเลยพอรู้เรื่องครับ ^^ จากตอนที่แล้ว ผมคอมเม้นต์ว่าอยากเห็นหน้า... แต่ลืมดูชื่อรายการไปครับ ว่าเป็น podcast ถ้าลงเป็น live ที่เห็นหน้าได้จะสะดวกรึเปล่าครับ น้องๆ นักเรียนของเรานั้น มีบางคนที่มาเรียนโดยที่ไม่ได้อยากเป็นหมอ ... ตรงนี้เราก็พยายามที่จะเสริมปัจจัยต่างๆ ให้เค้าเปลี่ยน mindset ล่ะครับ ตรงนี้นอกจาก อ.ที่สอนในห้องเรียน ซึ่งอยู่กับเด็กแค่ชั่งระยะเวลาสั้นๆ ใน คลาสต่างๆ ผมว่า บทบาทของ อ.ที่ปรึกษา ประจำตัวของ น้องๆ นศพ. ซึ่งมีระยะเวลาดูแลยาวนานกว่า ก็น่าจะส่งเสริมให้สามารถมีส่วนช่วยได้นะครับ

  • @Glucargon
    @Glucargon 4 ปีที่แล้ว

    ชัดเจน เห็นภาพรวมได้ ในมุมมองของอาจารย์ ครับ.......... ประเด็นแรงบันดาลใจ หรือแรงจูงใจในการเรียนของผมคือ...เพื่อนไม่รู้เรื่อง ผมต้องตั้งใจเรียนไปสอนมัน __^^ มีความสุขเวลาสอนเพื่อนแล้วเพื่อนเข้าใจ ผมคิดว่าผมเองก็เป็นคนที่แนว introvert มากๆ ครับ ประเด็นที่ว่าไม่กล้าถามในชั้นเรียนผมขอแบ่งบันของผมแล้วกันครับ จากการเตรียมตัวมาก่อน และอ่านมาบ้างก่อนเข้า class ปัจจัยที่ทำให้ไม่อยากถาม มีมากขึ้นครับ ไม่ใช่ว่าถามไปแล้วจะดูโง่ (จริงๆ ผมว่าคำถามผมเองมันสร้างสรรค์มากนะครับ) แต่ไม่อยากถาม ด้วยหาเหตุเช่น . 1. อาจารย์สอนเลยเวลา-หิวข้าว อยากไปเร็วๆ 2. กลัวเพื่อนหิวข้าว ถ้าถามมากก็เกร็งใจอาจารย์ เกร็งใจเพื่อน 3.ต้องรีบกลับไปราววอร์ดกับพี่ๆ และอาจารย์ ไปสายกลัวพี่ทำเสร็จหมดก่อน 4. เรียนมาไม่รู้เรื่องเลยไม่รู้จะถามอะไร พอถามไปอาจารย์อธิบายมาก็งงอยู่ดี งั้นขอกลับไปทำการบ้านอ่านมาใหม่ดีกว่า(เอาเข้าจริงกลับหอแล้วก็มีอะไรทำอย่างอื่นแทน รู้ตัวอีกทีก็ง้วงแล้ว) __Telemed ยืนยันว่าใช้ทักษะการสื่อสารเยอะมากครับ ผมเริ่มให้บริการมาประมาณ 2 ปี ผ่านทาง application ที่มีในตลาด ทุกวันนี้ผมให้บริการคนไข้ ด้วยทาง online การถามประวัติบางอย่างต้องคิดว่าจะใช้คำว่าอะไรดี การตรวจร่างกายคร่าวๆ ก็ลำบาก เพราะน่าจะด้วยข้อกำจัดทางเทคโนโลยี เรายังไม่สามารถ ครบกระบวนการ ดู คลำ เคาะ ฟัง ได้ คำถามต้องเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของคนแต่ละคนที่เราคุยด้วย จะสื่อสารอย่างไรให้รู้สึกว่าเราสุภาพ บางครั้ง เห็นแค่ข้อความ ได้ยินแค่เสียง วีดีโอคอลก็คุณภาพยังไม่ดีพอให้สังเกตุเห็นแววตาของคนที่พูดคุยด้วย การจับน้ำเสียง ที่เปลี่ยนไป อารมณ์ความรู้สึกในน้ำเสียงที่ผ่าน ระบบ internet ต้องใช้ความพยายามมากกว่าคนไข้จริงประมาณหนึ่งเลยครับ ผมติดตามเรื่อยๆ นะครับ อยากไปเรียนหลักสูตรอาจารย์แพทย์ กับอาจารย์หลายครั้ง แต่ติดขัดมาหลายครั้งแล้ว ครั้งต่อๆ ไปอยากให้เห็นหน้าคนที่คุยทั้งสองคนได้มั้ยครับ.... เห็นแค่หน้า อ.สรรัตน์ แล้ว.....หล่อเกินครับ 555+ ต้องเห็นหน้า อ.พี่อุ้มด้วย