เศรษฐสาร เศรษฐศาสตร์ มธ
เศรษฐสาร เศรษฐศาสตร์ มธ
  • 53
  • 17 738
Setthasarn on Podcast EP40 เศรษฐกิจไทยภายใต้ระเบียบการเงินโลก
เมื่อนานาประเทศในโลกมีความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ประเทศไทยก็หลีกเลี่ยงการมีปฏิสัมพันธ์กับต่างชาติไม่ได้ มหาอำนาจที่ผลัดเปลี่ยนกันขึ้นมากำหนดระเบียบการเงินโลกส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันอย่างไร? และจะเอาตัวรอดในอนาคตอย่างไร? คุยกับ อ.โกวิท ชาญวิทยาพงศ์ ผู้เขียนหนังสือ "เศรษฐกิจไทยภายใต้ระเบียบการเงินโลก: ที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป?" ใน เศรษฐสาร on Podcast Ep.40
ดำเนินรายการโดย: ปุรเชษฐ์ ฟางศรีสุนันทา
ตัดต่อโดย: ภูมิไท สิทธิชัย
มุมมอง: 151

วีดีโอ

การนําเสนอผลงานทางวิชาการ "Best Seminar Paper" ปีการศึกษา 2566
มุมมอง 9114 วันที่ผ่านมา
โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
การวัดอำนาจเหนือตลาดส่งออก มะม่วงมหาชนก ของ จ.กาฬสินธุ์
มุมมอง 2514 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นางสาวปรียา เตือนวีระเดช อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร.กิริยา กุลกลการ "รางวัลชมเชย" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยนโยบายกับหนี้ครัวเรือน
มุมมอง 814 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นายฤทธิชัย กิจเจริญทรัพย์ อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.พนิต วัฒนกูล "รางวัลชมเชย" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
ผลกระทบของหนี้ครัวเรือนต่อประสิทธิภาพในการดำเนินนโยบายการเงิน
มุมมอง 1214 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นายกิตติภพ จุฑารัตนากูล อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร.โกวิท ชาญวิทยาพงศ์ "รางวัลชมเชย" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
กฎกระทรวงการผลิตสุรา พ.ศ. 2565 กับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตลาดเบียร์ไทย
มุมมอง 2714 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นางสาวพิมพ์พิชชา ตันติธรรมธร และนางนาวปนัสยา ชรินชวลิต อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เกรียงไกร เตชกานนท์ "รางวัลชมเชย" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
การทุจริตคอรรัปชั่นและอัตราการเจริญพันธุ์ในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มุมมอง 2214 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นางสาวสุวภัทร สุพรรณพยัคฆ์ อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร.กิริยา กุลกลการ "รางวัลชมเชย" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
การประเมินมูลค่าของพื้นที่ธรรรมชาติในเมืองกรุงเทพมหานคร ด้วยความพึงพอใจในชีวิต
มุมมอง 3614 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นายศรีภูมิ สาครตระกูล อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล "รางวัลชมเชย" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
การศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
มุมมอง 3014 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นางสาวกมลพร ศรีใส อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร.กิริยา กุลกลการ "รางวัลชนะเลิศ" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
การสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบทางสิ่งแวดล้อมและความเสมอภาคทางเพศในภาคเอกชน
มุมมอง 1314 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นางนาวณันธร นวมจิตต์ อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร.กิริยา กุลกลการ "รางวัลชมเชย" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
ความสัมพันธระหว่างตลาดจังมาดังและการเปลี่ยนแปลงบทบาททางเศรษฐกิจและสังคมของผู้หญิงเกาหลีเหนือ
มุมมอง 2014 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นางนาวชินาภา อิศรางกูร ณ อยุธยา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.ตฤณ ไอยะรา "รางวัลรองชนะเลิศ อันดับหนึ่ง" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
เมื่อ BCP เข้าซื้อ ESSO โครงสร้างและการแข่งขันตลาดค้าปลีกน้ำมันไทยเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
มุมมอง 1914 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นางสาวลลิตา เก็บรักษา นางสาวณิชา ธำรงราชนิติ และนางสาวขวัญชนก ดวงสูงเนิน อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เกรียงไกร เตชกานนท์ "รางวัลรองชนะเลิศ อันดับสอง" การนำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 โครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
โอกาสในการเกิดวิกฤตการเงินจากหนี้เอกชนและผลกระทบต่อการส่งออกของไทย
มุมมอง 2414 วันที่ผ่านมา
ผู้นำเสนอ : นายธนดล อิสราภิรักษ์ นางสาวชนัญญ์กฤตย์ อนันตศักดิ์ และนายณัฐพนธ์ ผดุงกิจ อาจารย์ที่ปรึกษา : ศ.ดร.เอื้อมพร พิชัยสนิธ "รางวัลชมเชย" งานสัมมนานำเสนอผลงานวิชาการ "Best Seminar Papers" ปีการศึกษา 2566 คณะทำงานโครงการปริญญาตรี (ภาคภาษาไทย) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 21 มิถุนายน 2567
Setthasarn on Podcast EP39 ความรุนแรงกับความยากจน
มุมมอง 35หลายเดือนก่อน
ความรุนแรงเป็นปรากฏการณ์ที่ไม่พึงปรารถนาแต่ก็เกิดขึ้นบ่อยครั้งในบางสังคม ทำไมบางสังคมจึงมีความรุนแรงเกิดขึ้นบ่อยครั้งและแต่ละครั้งนำไปสู่ความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินมากมาย ในขณะที่บางสังคมสามารถจัดการกับความขัดแย้งได้ดีกว่าและยับยั้งไม่ให้เกิดความรุนแรงขึ้นได้ นักเศรษฐศาสตร์มองความรุนแรงในสังคมอย่างไร? และความรุนแรงมีความเชื่อมโยงกับปัญหาความยากจนอย่างไร? หาคำตอบเหล่านี้กับ อ.ชานนทร์ เตชะสุนท...
Setthasarn on Podcast EP38 Stablecoin
มุมมอง 55หลายเดือนก่อน
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการเก็บข้อมูลแบบกระจายศูนย์และการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิทัลหลากหลายประเภททำให้เกิดการปฏิวัติครั้งใหญ่ในโลกการเงิน สินทรัพย์ดิจิทัลชนิดหนึ่งที่ได้รับการพูดถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ก็คือ เหรียญดิจิทัลที่มีกลไกคงความเสถียรทางมูลค่า (stablecoin) stablecoin คืออะไร สิ่งใดที่ทำให้เกิดกลไกคงความเสถียรทางมูลค่า คุยกับ อ.พนิต วัฒนกูล เพื่อหาคำตอบเหล่านี้ได้ใน เศรษฐสาร on podcast EP.38
Setthasarn On Podcast Ep37 #Saveทับลาน
มุมมอง 1002 หลายเดือนก่อน
Setthasarn On Podcast Ep37 #Saveทับลาน
Setthasarn On Podcast Ep36 ข้อมูลดาวเทียมกับการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์
มุมมอง 723 หลายเดือนก่อน
Setthasarn On Podcast Ep36 ข้อมูลดาวเทียมกับการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์
Setthasarn on Podcast EP35 Soft Power
มุมมอง 666 หลายเดือนก่อน
Setthasarn on Podcast EP35 Soft Power
Setthasarn on Podcast EP34 ธนาคารไทยค้ากำไรเกินควร?
มุมมอง 1097 หลายเดือนก่อน
Setthasarn on Podcast EP34 ธนาคารไทยค้ากำไรเกินควร?
Setthasarn on Podcast EP33 เด็กยุคใหม่เปลี่ยนไปจากเด็กยุคเก่าหรือไม่
มุมมอง 938 หลายเดือนก่อน
Setthasarn on Podcast EP33 เด็กยุคใหม่เปลี่ยนไปจากเด็กยุคเก่าหรือไม่
SETTHASARN ON PODCAST - EP32 - หนังสือประวัติชีวิตและแนวคิดนักเศรษฐศาสตร์ระดับโลก
มุมมอง 1749 หลายเดือนก่อน
SETTHASARN ON PODCAST - EP32 - หนังสือประวัติชีวิตและแนวคิดนักเศรษฐศาสตร์ระดับโลก
Setthasarn On Podcast Ep31 เศรษฐศาสตร์วัฒนธรรม
มุมมอง 13511 หลายเดือนก่อน
Setthasarn On Podcast Ep31 เศรษฐศาสตร์วัฒนธรรม
Setthasarn on Podcast EP30 เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
มุมมอง 356ปีที่แล้ว
Setthasarn on Podcast EP30 เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
Setthasarn on Podcast EP29 อาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต
มุมมอง 127ปีที่แล้ว
Setthasarn on Podcast EP29 อาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต
Setthasarn on Podcast EP28 นโยบายเกษตร
มุมมอง 195ปีที่แล้ว
Setthasarn on Podcast EP28 นโยบายเกษตร
Setthasarn on Podcast EP27 สัพเพเหระเรื่องฟุตบอล
มุมมอง 84ปีที่แล้ว
Setthasarn on Podcast EP27 สัพเพเหระเรื่องฟุตบอล
Setthasarn on Podcast EP26 ความไม่พร้อมของนโยบายกัญชา
มุมมอง 109ปีที่แล้ว
Setthasarn on Podcast EP26 ความไม่พร้อมของนโยบายกัญชา
Setthasarn on Podcast EP25 ค่าจ้างขั้นต่ำ 600 บาท
มุมมอง 147ปีที่แล้ว
Setthasarn on Podcast EP25 ค่าจ้างขั้นต่ำ 600 บาท
Setthasarn on Podcast EP24 APEC 2022 Thailand
มุมมอง 364ปีที่แล้ว
Setthasarn on Podcast EP24 APEC 2022 Thailand
Setthasarn On Podcast EP23 Xinomics อ่านเกมสีจิ้นผิง
มุมมอง 14Kปีที่แล้ว
Setthasarn On Podcast EP23 Xinomics อ่านเกมสีจิ้นผิง

ความคิดเห็น

  • @davinci5476
    @davinci5476 ปีที่แล้ว

    GDP=C+I+G+(X-M) เป็นบทวิจารย์ในเชิงวิชาการ : เริ่มต้นจาก"ทักษิโณมิกส์" ได้แสดงผลลัพธ์ ให้โลกเห็น จากการที่ตกอยู่ในแดนวิกฤต แต่สามารถกลับมาแบบก้าวกระโดดได้(มีการคำนวนแคนคูรัสและแสดงกร๊าฟ เป็นตัว S เรียกว่า S-Curve) ทำให้ ญี่ปุ่น ที่เคยช่วยไทยในโครงการ "มิยาซาวา" เป็นเงินให้เปล่าเพื่อ กระตุ้น ตัว C= Consumption ญี่ปุ่นต้องการเป็นอุตสาหกรรมต้นน้ำให้เรา เพราะเราเป็นฐานการผลิต ลดภาษีนำเข้าสินค้าไปขายยุโรป และอเมริกา เมื่อสินค้าไม่เสียภาษีก็ราคาต่ำขายดีมีคำสั่งซื้อมาก มีการทำล่วงเวลามาก รายได้มาก ก็รสนิยมสูง ใช้จ่ายมาก กระตุ้นเศรษฐกิจได้ดี ญี่ปุ่นจึงเอาไปใช้ เป็น "อาเบโนมิกส์" ทำให้ อาเบได้เป็นนายกฯญี่ปุ่นได้นานกว่าคนอื่น เพราะ หลักธนู 3 ดอกยิ่งเข้าสู่เป้าหมายเดียวกัน จากนั้นผู้นำจีน จึงเอาไปใช้ เป็น"สีโนมิกส์" ทุกวันนี้ ที่คล้ายไทยมาคือ การทำสงครามกับความยากจน ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง*** หมายถึง สร้างนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจทำให้เกิดพลวัตร(Dynamics) ขับเคลื่อนไปข้างหน้าพร้อมกัน แบบเครื่องยนต์ 4 สูบ{GDP=C+I+G+(X-M)} ด้วยนโยบายหลายอย่างพร้อมๆกัน ตามแนวคิด(Concept) ทักษิโณมิกส์ คือ ถอยหลัง ออกวิ่งสุดแรง ย่อตัวลง ก้าวและกระโดด จึงพ้นสิ่งกีดขว้างที่เป็นอุปสรรค์ คือ ปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นเอง เราควบคุมมันไม่ได้ แต่เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาสได้(TOWS Matrix) ได้แต่พอมาถึงสงครามกับคอรัปชั่น ไทยทำไม่ได้ เพราะพ่อค้ายาเสพติดมีโยงใยกับกับพวกคอรัปชั่น หมายถึง เลี้ยงหมาเฝ้าบ้านแต่ไปกระดิกหางให้โจร เปลื้องข้าวสุก ใช่หรือไม่ใช่ น่าเสียดายมาก ที่ สามเหลี่ยมขยับภูเขา แบบ"หน่วยอินดิเพ็นเดนท์" ของฮ่องกง แต่เอาจริงเจอตอ หัวล้านวิ่งหนี ราษฎรอายุมากอายุหด จบกัน ทำไม่สำเร็จ อย่างที่เห็นกันทุกวันนี้ ติดยาก่อเหตุรายวัน แท็กซี่ถูกจี้ พนันออนไลน์ หลอกล่วงทางโทรศัพท์ มีให้เห็นบ่อยมาก ใช่หรือไม่ สงสัยมาก #ทำไมสีคนเดียวแก้ได้ไม่ต้องใช้เป็นร้อย

  • @วรนาฎศิริทรัพย์สุนทร

    ดิฉันสนใจและกังวลเกี่ยวกับจีนเพราะจีนเป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ประชาชนไม่มีสิทธิเลือกคนบริหารประเทศ ยิ่งโตอิทธิพลด้านเผด็จการยิ่งมาก

  • @ไชยวัฒน์ชํานาญเวช

    ขอคุณครับพี่ๆๆ

  • @victorr.4588
    @victorr.4588 ปีที่แล้ว

    นโยบายด้อมส้มเน่าสามกีบจะทำให้ถอยลงคลอง #ไม่เอาก้าวไถล

  • @พงศ์พัฒน์สมใจวงษ์

    ขยันทำรายการ ขยันโพสถ์หน่อยครับ อย่าปล่อยทิ้ง

  • @him3797
    @him3797 ปีที่แล้ว

    พระพุทธเจ้าทรงให้ความสำคัญในการให้ธรรมะให้ความสำคัญ *เวลาที่เหมาะสม*ครับ

  • @พายุคงแท่น-ภ2ษ
    @พายุคงแท่น-ภ2ษ ปีที่แล้ว

    มั่นใจทางด้านเศรษฐกิจเพราะเป็นขยายได้หลายทิศทาง

  • @ypornsak
    @ypornsak ปีที่แล้ว

    ผู้นำที่ทำเพื่อคนทั้งประเทศผิดกับผู้นำบางประเทศที่ทำเพื่อนายทุน

  • @วิเชียรต๊ะคํา-ฌ9ษ

    เศรษฐกิจในภาพ มวลรวม ก็ใหญ่มาก.ๆ แต่เฉลี่ย ต่อคน ไม่ตีด อันดับโลก ต้นๆๆเลย หาก จีนไม่นำ ทุนนิยมแบบ ยุโรป เมกา มานำทางเศรษฐกิจ จีน ก็จะเหมือน เกาหลีเหนือ ไม่ปัด มีแต่ อาวุธ

  • @user-ik6gr5ue4o
    @user-ik6gr5ue4o ปีที่แล้ว

    y☆u 2☆23❤ ยอมที่ใจครับ กาผมพอแล้ว หมดความทำให้รักกันให้ เมืองไทยตอนคงให้เข้ากันเอง กาผมหมดทางแล้วคำพูดวิชาเขียน ผมให้ใจธัรที่ช้วยทุกทางมิเริมครับ ใจผลที่ทำมาครับ 123456789 ྱྱ♡ཽཾུ

  • @วิลาวรรณประเสริฐศักดิ์

    ❤❤านสีคุณเยี่ยมมาก

  • @udomsakkongmueng2542
    @udomsakkongmueng2542 ปีที่แล้ว

    ออกไปดีกว่าครับ..ตอนช่วงซีโร่โควิด..คนโดนไฟคลอกตาย..เยาวชนออกมาถือกระดาษไล่..ปัญหาอสังหาริมทรัพย์..ติดค้าง๑๐๐ล้านตึก..จนต้องระเบิดทิ้ง..ออกไปเถอะครับ..ผลงานห่วย😢😢

  • @SaridaTarot
    @SaridaTarot ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากค่ะ

  • @cotton8417
    @cotton8417 ปีที่แล้ว

    เขายิงทิ้งคอรัปชั่นทั้งขรก.ปชช.ไม่ดีไป ประเทศก็เจริญ

  • @ฐิติรัตน์สิรภัทรวณิชย์

    สร้างคนให้ไม่เป็นทาสสิ่งที่เป็นอบายมุข สร้างคนให้มีทัศนคติให้เป็นคนมีคุณภาพมีจริยธรรมคุณธรรมขยันอดทนอดออม รักสามัคคี ไม่คัดแข้งขัดขากันเอง ไม่เลือกตั้งด้วยเป๋าเบี้ยของกลุ่มทุนอยู่ใต้อิทธิพลของคนรวยแล้วรวยทรัพย์สินอยู่กลุ่มของพระเจ้าคุมโลก เมื่อรวยต้องแบ่งปันเจือจานให้ผู้ด้อยกว่าให้มีโอกาสสร้าง,ฐานเสมอกันได้

  • @SA-561
    @SA-561 ปีที่แล้ว

    อจ เก่งมากๆครับ ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับ 🙏

  • @ER-sv1np
    @ER-sv1np ปีที่แล้ว

    5:41 ไม่เน้นโต เน้นมั่นคง 6:09 ไม่ยืมจมูกต่างชาติหายใจ ตลาดในประเทศ เทคผลิตเอง ลดพึ่งพาส่งออก(เราตัวเล็กเน้นส่งออกดีกว่า) เขาใหญ่หมุนในประเทศไม่เสียเลือดก็อยู่ได้ยาว ให้มันหมุนในประเทศ เราไปแบ่งมานิดก็อิ่มแล้ว 7:30 อินเดียคนเยอะแต่ไม่สำเร็จ มีปัจจัยอื่น จีนเน้นการแข่งขันเอกชน แข่งดุจน ใครแพ้ก็ล้มไปไม่มีช่วย ต้องรอดให้ได้ mindset ดึงศักยภาพเอกชนจีน (ดึงศักยภาพคนในทีมสำคัญ) ในโลกการแข่งขัน 9:14 xinomic ยึดประชาชนเป็นที่ตั้ง แต่เราเพี้ยน ผลประโยชน์กลุ่มมาก่อน ระบบสำคัญจริง

  • @henbakohibangkok
    @henbakohibangkok 2 ปีที่แล้ว

    เรียนถามอาจารย์ครับว่า มีลิงก์รายงานวิจัยให้อ่านเพิ่มเติมมั้ยครับ ขอบพระคุณครับ