noraath's music
noraath's music
  • 22
  • 78 847

วีดีโอ

เพลงโลกนี้คือละคร ผลงานเพลง ครูไพบูลย์ บุตรขัน ปาน ธนพร แวกประยูร ขับร้อง
มุมมอง 84ปีที่แล้ว
อัลบั้ม คลาสสิกไพบูลย์ บุตรขัน Siam masterpiece record
เว้ากถาอีสาน 1.Dawn of E-Sarn
มุมมอง 102ปีที่แล้ว
นรอรร จันทร์กล่ำ ประพันธ์เพลง
Prelude สำเนียงเสียงสยาม ชุดที่ 1 ประพันธ์โดย นรอรรถ จันทร์กล่ำ
มุมมอง 1052 ปีที่แล้ว
Prelude สำเนียงเสียงสยาม ชุดที่ 1 ประพันธ์โดย นรอรร จันทร์กล่ำ
ลาวดวงเดือน สำหรับวงเครื่องสายและโอโบ อัลบั้มสยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 1472 ปีที่แล้ว
นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียงและอำนวยเพลง ดำริห์ บรรณวิทยกิจ โอโบ วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บรรเลง อัลบั้ม สยามดุริยางค์เครื่องสาย CD LP available at FB/Siam masterpiece record Line:@siammasterpr
Rachmaninoff Piano Concerto No.2 CU Symphony Orchestra
มุมมอง 9926 ปีที่แล้ว
Rachmaninoff : Piano Concerto No.2 ผศ.ดร.รามสูร สีตลายัน เดี่ยวเปียโน ผศ.ดร.นรอรร จันทร์กล่ำ อำนวยเพลง วงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สยามดุริยางค์เครื่องสาย แขกปัตตานี
มุมมอง 8646 ปีที่แล้ว
แขกปัตตานี สำหรับวงเครื่องสายและเปียโน ทำนองเพลงเก่า ไม่ทราบนามผู้ประพันธ์ นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียง สยามดุริยางค์เครื่องสาย
คอยอ้อมกอดพี่
มุมมอง 2.1K6 ปีที่แล้ว
คอยอ้อมกอดพี่ คำร้อง สง่า อารัมภีร์ ดัดแปลงทำนองจาก ลาวเจริญศรี ต้นฉบับ ขับร้องโดย ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์ โพสต์นี่มีจุดมุ่งหมายจะเผยแพร่เพลงไทยสากลที่มีคุณค่าในรูปแบบ ที่ต่างจากต้นฉบับ เพื่อให้เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ เพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจแต่อย่างใด
เขมรไทรโยค สยามดุริยางค์เครื่องสาย บันทึกเสียง
มุมมอง 8856 ปีที่แล้ว
เขมรไทรโยค สำหรับวงเครื่องสาย ฟลูตและโอโบ พระนิพนธ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียงดนตรี วรพล กาญจน์วีระโยธิน ฟลูต ดำริห์ บรรณวิทยกิจ โอโบ วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย บันทึกเสียงที่ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประทีป เจตนากูลและทีม บันทึกเสียง
ลาวเจริญศรี สยามดุริยางค์เครื่องสาย บันทึกเสียง
มุมมอง 1.3K6 ปีที่แล้ว
ลาวเจริญศรี ทำนองเพลงเก่า ไม่ทราบนามผู้ประพันธ์ นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียงดนตรี ดำริห์ บรรณวิทยกิจ โอโบ วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย บันทึกเสียงที่ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประทีป เจตนากูลและทีม บันทึกเสียง
แขกบูชายัญ สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 1.9K6 ปีที่แล้ว
แขกบูชายัญ หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ประพันธ์ นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียงดนตรี วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU String Orchestra จัดทำโดย สำนักงานสนับสนุนกองทุนการวิจัย ภาพปกโดย ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ศิลปินแห่งชาติ
ลาวดวงเดือน สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 10K6 ปีที่แล้ว
ลาวดวงเดือน สำหรับวงเครื่องสายและโอโบ พระนิพนธ์ในพระองค์เจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นมหินทโรดม นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียงดนตรี ดำริห์ บรรณวิทยกิจ โอโบ วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU String Orchestra จัดทำโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ภาพปกโดย ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง
ระบำสุโขทัย สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 9K6 ปีที่แล้ว
ระบำสุโขทัย มนตรี ตราโมท ประพันธ์ นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียงดนตรี วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU String Orchestra จัดทำโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ภาพปกโดย ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ศิลปินแห่งชาติ
ลาวเสี่ยงเทียน สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 15K6 ปีที่แล้ว
ลาวเสี่ยงเทียน ทำนองเพลงเก่า ไม่ทราบนามผู้ประพันธ์ นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียงดนตรี วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU String Orchestra จัดทำโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ภาพปกโดย ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ศิลปินแห่งชาติ
บังใบ สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 4.5K6 ปีที่แล้ว
บังใบ สำหรับวงเครื่องสายและฟลูต ทำนองเพลงเก่า ไม่ทราบนามผู้ประพันธ์ นรอรร จันทร์กล่ำ เรียบเรียงดนตรี วรพล กาญจน์วีระโยธิน ฟลูต วงเครื่องสายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU String Orchestra จัดทำโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ภาพปกโดย ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ศิลปินแห่งชาติ
ต้นวรเชษฐ์ สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 10K6 ปีที่แล้ว
ต้นวรเชษฐ์ สยามดุริยางค์เครื่องสาย
ลาวจ้อย สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 8K6 ปีที่แล้ว
ลาวจ้อย สยามดุริยางค์เครื่องสาย
แขกปัตตานี สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 2.4K6 ปีที่แล้ว
แขกปัตตานี สยามดุริยางค์เครื่องสาย
ลาวเจริญศรี สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 2.7K6 ปีที่แล้ว
ลาวเจริญศรี สยามดุริยางค์เครื่องสาย
โศกพม่า สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 2.6K6 ปีที่แล้ว
โศกพม่า สยามดุริยางค์เครื่องสาย
เขมรไทรโยค สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 2.5K6 ปีที่แล้ว
เขมรไทรโยค สยามดุริยางค์เครื่องสาย
แขกมอญบางขุนพรหม สยามดุริยางค์เครื่องสาย
มุมมอง 4.3K6 ปีที่แล้ว
แขกมอญบางขุนพรหม สยามดุริยางค์เครื่องสาย

ความคิดเห็น

  • @oxana6055
    @oxana6055 ปีที่แล้ว

    Как это можно не написать кто исполняет и кто дирижирует?

  • @lertnamify
    @lertnamify 2 ปีที่แล้ว

    ไพเราะมากๆ บทเพลงไทยเดิม และ มีความเป็นดนตรีร่วมสมัยมากขึ้น 👍👏

  • @pitsamaimueannara5053
    @pitsamaimueannara5053 2 ปีที่แล้ว

    Whoo, bravo!! Such a beautiful ending

  • @นายวินัยขวัญเพ็ญ

    มรดกการดนตรีไทยที่แสนยาวนาน

  • @juta755
    @juta755 2 ปีที่แล้ว

    ชอบมาก ให้ความรู้สึกสบายใจ

  • @SuperBestwish
    @SuperBestwish 2 ปีที่แล้ว

    เพราะมากกกกก หวานนนมากกก

  • @ninanina-n2q
    @ninanina-n2q 3 ปีที่แล้ว

    ไพเราะ มากค่ะ

  • @พิมพ์นิภาบรรณปัญญา

    เพราะค่ะ

  • @payathaikennel8714
    @payathaikennel8714 4 ปีที่แล้ว

    เพราะมากคะ

  • @ประภาทวีโรจน์สุพล

    จิร้องให้

  • @pichanpitaksakseri1881
    @pichanpitaksakseri1881 5 ปีที่แล้ว

    เสียงขับร้องดีมากครับ เพียงแต่ลีลาและจังหวะการร้องไม่ตรงกับต้นฉบับของคุณชาย มรว.ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์ คล้ายกับตั้ง ใจกระมังครับ ขอบคุณมากครับ

  • @นาถฤดีพูลเกิด
    @นาถฤดีพูลเกิด 5 ปีที่แล้ว

    ยอดเเยี่ยมมากค่ะ

  • @PEAMOfficial
    @PEAMOfficial 5 ปีที่แล้ว

    ลงตัวมากครับ

  • @PEAMOfficial
    @PEAMOfficial 5 ปีที่แล้ว

    คาราวะเลยครับ

  • @ประภาทวีโรจน์สุพล

    😢

  • @crystalth7099
    @crystalth7099 5 ปีที่แล้ว

    งดงามมากค่ะพี่นอของหนู...

  • @Pcdtk.B
    @Pcdtk.B 6 ปีที่แล้ว

    สำหรับผมๆถือว่าเพลงนี้ดีที่สุดและเพราะที่สุด

  • @ลายแคนเร็คคอร์ด-ฬ5ษ

    มีโน๊ตไหมครับ

    • @noraathsmusic2225
      @noraathsmusic2225 5 ปีที่แล้ว

      เทิด ทิ ทาด Studio มีสกอร์ครับ สนใจไปรับได้ที่จุฬา 02 218 4606

  • @84yearslooktung
    @84yearslooktung 6 ปีที่แล้ว

    อยากให้คนที่ไม่เคยฟัง ได้ฟังบ้างจังเลยครับ สุดยอดเพลงและการบรรเลง

  • @kolawta
    @kolawta 6 ปีที่แล้ว

    ทุกเพลงในอัลบั้มเรียบเรียงและบันทึกเสียงมีคุณภาพมาก อัลบั้มนี้สมควรทำวางขาย เพื่อให้คนทั่วไปได้ซื้อเก็บสะสมไว้เป็นประวัติศาสตร์ เข้าใจว่าทางผู้จัดทำไม่ได้หวังผลกำไร แต่ก็จัดจำหน่ายเพื่อการกุศลได้ครับ

    • @noraathsmusic2225
      @noraathsmusic2225 6 ปีที่แล้ว

      kolawta มีจำหน่ายครับ แต่ไม่ได้วางขายทั่วไป ติดต่อได้ที่ 02-218-4604 ขอบคุณครับ

  • @sukunyaniam9677
    @sukunyaniam9677 6 ปีที่แล้ว

    คุณ : วิษณุพิรุณ จาก pantip ให้ข้อมูลไว้ว่า เพลงนี้เดิมชื่อ "ต้นบรเทศ" ครับ เป็นเพลงอัตราจังหวะสองชั้นและชั้นเดียว เป็นทำนองเก่าสมัยอยุธยาอยู่ในเพลงประเภทสองไม้ ที่มาของคำว่า "บรเทศ" มีผู้สันนิษฐานว่า เราได้ยินชาวอินเดียเรียกคนต่างด้าวว่า ปัรเดสี (Pardesi) ซึ่งแผลงทางสำเนียงไทยว่า "ปรเทสี" และกลายเป็น "บรเทศ" ดังที่เราเรียกชาวตะวันออกกลางว่า "แขกเทศ" หรือ มีชื่อเพลงไทยอีกเพลงว่า "แขกบรเทศ" (คนละเพลงกับ "ต้นบรเทศ") แต่ด้วยความไม่รู้ หรือ แค่ต้องการเลียนเสียง จากเพลง "ต้นบรเทศ" จึงเพี้ยนเสียงกลายเป็น "ต้นวรเชษฐ์" ไป ดังนั้นไม่ต้องไปตามหาหรอกครับ ว่าคือ ต้นอะไร เพลงแขกบรเทศนี้ ครูกล้อย ณ บางช้าง ได้แต่งขยายขึ้นเป็นอัตราสามชั้น ให้มีเชิงสำนวนเป็นประโยคคู่ตลอดเพลง ความหมายของเพลงไปในเชิงพลอดรักสัพยอก เพลงต้นบรเทศสามชั้น เรียกอีกชื่อว่า”เพลงชมแสงจันทร์” ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2478 ท่านครูหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้แต่งทำนองเพลงชมแสงจันทร์ เฉพาะอัตราสามชั้นขึ้นอีกทางหนึ่ง ให้ชื่อว่า “เพลงชมแสงทอง 3 ชั้น") ถ้านึกไม่ออก ไปดูในโหมโรงได้ครับ เพลงแขกบรเทศ คือเพลงที่นายศรลองเครื่องดนตรีหลากชนิดไปเรื่อย จากฆ้อง ระนาดทุ้ม... แล้วเปลี่ยนผู้แสดงจากวัยเด็กเป็นหนุ่ม ส่วนเพลงต้นวรเชษฐ์ คือตอนที่นายศรไปเล่นระนาดในเมืองหลวงครั้งแรก แล้วเสียงไปบาดหูขุนอินนั่นแหละครับ จากคุณ : วิษณุพิรุณ goo.gl/UR65r6

  • @sukunyaniam9677
    @sukunyaniam9677 6 ปีที่แล้ว

    นิยายรักเบื้องหลังเพลงลาวดวงเดือน www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9590000016273

  • @sugunyan.9054
    @sugunyan.9054 6 ปีที่แล้ว

    กลิ่นไอของความเป็นไทย กรุ่นหอมเย็น สบายใจ มีความสุขที่ได้ฟัง

    • @sukunyaniam9677
      @sukunyaniam9677 6 ปีที่แล้ว

      ประวัติที่มา ระบำสุโขทัย เป็นระบำชุดที่ ๕ อยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๐ นับเป็นยุคสมัยที่ชนชาติไทย เริ่มสร้างสรรค์ศิลปะด้านนาฏศิลป์ และดนตรีในเป็นสมบัติประจำชาติ โดยอาศัยหลักฐานอ้างอิงที่กล่าวไว้ในเอกสาร และหลักศิลาจารึก ประกอบศิลปกรรมอื่น ๆ การแต่งทำนอง กระบวนท่ารำ และเครื่องแต่งกาย ประดิษฐ์ขึ้นให้มีลักษณะที่อ่อนช้อยงดงาม ตามแบบอย่างของศิลปะสมัยสุโขทัย ระบำชุดสุโขทัย จัดแสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภายหลังได้นำออกแสดง ในโรงละครแห่งชาติ และที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชาชนชม นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยนำทำนองเพลงเก่าของสุโขทัยมาดัดแปลง ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทย กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาจาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ www.finearts.go.th/performing/parameters/km/item/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2.html

  • @sugunyan.9054
    @sugunyan.9054 6 ปีที่แล้ว

    ฟังแล้วอิ่มใจในความไพเราะ และความภาคภูมิใจในอัจฉริยะทางดนตรีของผู้ประพันธื์ และผู้เรียบเรียงค่ะ

    • @sukunyaniam9677
      @sukunyaniam9677 6 ปีที่แล้ว

      เพลงลาวจ้อย สร้อยแสงแดงพระพราย ขนเขียวลายระยับ ปีกสลับเบญจรงค์ เลื่อมลายยงหงสะบาท ขอบตาชาดพะพริ้ง สิงคลิ้งหงอนพรายพรรณ ขานขันเสียงเอาแต่ใจ เดือยหงอนใสสีระรอง สองเท้าเทียมนพมาศ ปานฉลุชาดทารงค์ ปู่ก็ใช้ให้พี่ลง ผีก็ลงแก่ไก่ ไก่แก้วไซร้บ่มิกลัว ขุกผกหัวองอาจ ผาดผันตีปีกป้อง ร้องเรื่อยเฉื่อยฉาดฉาน เสียงขันขานแจ้วแจ้ว ปู่สั่งแล้วทุกประการ บ่มินานผาดโผนผยอง ลงโดยคลองคะนองบ่หึง ครั้นถับถึงพระเลืองลอ ยกคอขันขานร้อง ตีปีกป้องผายผัน ขันเรื่อยเจื้อยไจ้ไจ้ แล้วใช้ปีกไซ้หาง โฉมสำอางสำอาด ท้าวธผาดเห็นไก่ตระการ ภูบาลบานหฤทัย คำร้องคัดมาจากวรรณคดีเรื่อง ลิลิตพระลอ สันนิษฐานว่า อาจแต่งในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถหรือสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นตอนที่ปู่เจ้าเขาเขียวสั่งให้ไก่แก้วไปล่อพระลอมาเพื่อให้พบกับพระเพื่อนพระแพงwww.trueplookpanya.com/learning/detail/7507/011825

    • @Coffeeordie._88.
      @Coffeeordie._88. ปีที่แล้ว

      @@sukunyaniam9677ขอบคุณข้อมูลค่ะ รบกวนสอบถามค่ะ ผู้แต่งเพลงนี้ คือ ศรีปราชญ์ ใช่หรือไม่คะ ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ (มีความรู้สึกส่วนตัวว่า ผูกพันกับเพลงนี้ จึงตามค้นหาผู้ประพันธ์ แต่ไม่พบค่ะ)

  • @sugunyan.9054
    @sugunyan.9054 6 ปีที่แล้ว

    #นรอรรถ จันทร์กล่ำ