- 10
- 20 806
ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
Thailand
เข้าร่วมเมื่อ 29 ต.ค. 2021
โครงการนครศรีนครศิลป์ ตอน หนังตะลุง : สานศิลป์ถิ่นใต้ เรื่อง การเชิดรูปฤๅษี เพลงเหาะ
โครงการนครศรีนครศิลป์ ตอน หนังตะลุง : สานศิลป์ถิ่นใต้ เรื่อง การเชิดรูปฤๅษี เพลงเหาะ วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
มุมมอง: 343
วีดีโอ
ระบำตุมปัง
มุมมอง 2.5K2 ปีที่แล้ว
โครงการ" นครศรี นครศิลป์ " เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านระบบออนไลน์ ด้านนาฏศิลป์ ครั้งที่ 5
รองเง็งชาวเล วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
มุมมอง 1.3K2 ปีที่แล้ว
โครงการ" นครศรี นครศิลป์ " เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านระบบออนไลน์ ครั้งที่ 4 รองเง็งชาวเล เป็นวัฒนธรรมของชาวทะเล กลุ่มชาติพันธุ์อูรักลาโว้ย แทบชายฝั่งทะเลอันดามัน ร้องเล่น เต้นกันอย่างพื้นเมือง ประกอบกับเครื่องดนตรีที่รับเอาวัฒนธรรมจากจะวันตก ท่ารำจะเป็นการผสมผสาน คือ การใช้เท้า และวัฒนธรรมของตะวันออก หรือวัฒนธรรมไทยมีการใช้มือในการสร้างสรรค์รองเง็งชาวเล โดยนำเอาลักษณะดังกล่าวมาเป็นรูปแบบในการสร้าง...
ดนตรีพื้นเมืองภาคใต้ ระบำรองแง็งชาวเล
มุมมอง 8912 ปีที่แล้ว
ดนตรีพื้นเมืองภาคใต้ รองแง็งชาวเล โครงการ "นครศรี นครศิลป์" ร่วมกับโครงการ "การจัดการแสดงดนตรี" ของนักศึกษาปริญญาตรีปีที่ 4 สาขาดนตรีคีตศิลป์ไทย ในรายวิชาการจัดการแสดงดนตรี เผยแพร่ออนไลน์ด้านดุริยางค์ ครั้งที่ 4 #ขอความกรุณาทำแบบประเมินหลังชมการแสดงเสร็จด้วยนะครับ #ตามลิงค์ด้านล่างได้เลยครับ forms.gle/2i7c5RD5W5SSrt1J9
โนรา ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สู่มรดกโลกวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
มุมมอง 1.5K2 ปีที่แล้ว
โครงการ" นครศรี นครศิลป์ " เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านระบบออนไลน์ด้านนาฏศิลป์ ครั้งที่ 3 ในโอกาสที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก ประกาศรับรองขึ้นทะเบียน “โนรา” (Nora) เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ นับเป็นมรดกทางภูมิปัญญาของไทยลำดับที่ 3 ต่อจากโขน (พ.ศ.2561) และ นวดไทย (พ.ศ.2562) ที่ได้ขึ้นทะเบียนจากยูเนสโก ในฐานะที่ วิทยาลัยนาฏศิลปนค...
บรรเลงเดี่ยวระนาดเอก เพลงอาเฮีย สามชั้น วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
มุมมอง 2942 ปีที่แล้ว
โครงการ" นครศรี นครศิลป์ " เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านระบบออนไลน์ด้านดุริยางค์ ครั้งที่ 3 เดี่ยวระนาดเอก เพลงอาเฮีย สามชั้น เป็นเพลงที่ ครูบุญยง เกตุคง ผู้เชี่ยวชาญด้านดุริยางค์ไทย เป็นผู้เรียบเรียงทางเดี่ยวขึ้น จากเพลง อาเฮีย สามชั้น ประเภทเพลงปรบไก่ ของพระประดิษฐ์ไพเราะ มีดุริยางกูร (ครูมีแขก) ที่มีการแต่งขยายมาจากเพลง อาเฮีย สองชั้นแต่เดิม
บรรเลงเดี่ยวระนาดเอก เพลงการเวกเล็ก สามชั้น วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
มุมมอง 5703 ปีที่แล้ว
โครงการ" นครศรี นครศิลป์ " เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านระบบออนไลน์ด้านดุริยางค์ ครั้งที่ 2 เดี่ยวระนาดเอก เพลงการเวกเล็ก สามชั้น เป็นเพลงที่อาจารย์ธีรพล น้อยนิด ผู้เชี่ยวชาญด้านดุริยางค์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป เป็นผู้เรียบเรียงขึ้นเป็นทางเดี่ยว จากเพลงการเวกเล็ก สามชั้น ของพระประดิษฐ์ไพเราะมีดุริยางกรู (ครูมีแขก) ซึ่งเดิมเป็นเพลงครั้งกรุงเก่าจาก ตับเพลงพญาราชปักษี ในสมัยอยุธยา
ระบำนารีศรีนคร วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
มุมมอง 11K3 ปีที่แล้ว
โครงการ" นครศรี นครศิลป์ " เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านระบบออนไลน์ด้านนาฏศิลป์ ครั้งที่ 2 ระบำนารีศรีนคร เป็นการแสดงสร้างสรรค์ของวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช เผยแพร่ครั้งแรกในงานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมสี่ภาค ณ จังหวัดจันทบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2537 เกิดจากแนวคิดของ นายเอนก สิทธิประศาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชสมัยนั้น มีความประสงค์ให้มีการแสดง ที่นำเสนอเอกลักษณ์ของจังหวันครศรีธรรมราช โดยมีคุณครู สุณี...
รำลงสรงฮเนา วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
มุมมอง 1.6K3 ปีที่แล้ว
โครงการ" นครศรี นครศิลป์ " เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านระบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 รำลงสรงฮเนา(โทน) เป็นการแสดงที่ตัดตอนมาจาก ละครนอก เรื่องเงาะป่า บทพระราชนิพนธ์ในพระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โทน อาบน้ำชำระสระสาง ล้างละอองธุลีที่ติดต้อง แล้วนุ่งเลาะเตี๊ยะใยยอง สดแดงแสงส่องเพียงบาดตา ว้กพ็อกกอเลาะดูเหมาะเหมง เชิงนักเลงกลีบตกป้องปกขา มาลัยฮาปองยาวราวสักวา กวัดชายซ้ายขวาเวี่ยวง คาดมันนลายนาบอาบสี ...
การแสดงดนตรีสร้างสรรค์ ชุด "รื่นภิรมย์ ชุมชนคนทำลา" วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
มุมมอง 5773 ปีที่แล้ว
โครงการ "นครศรี นครศิลป์" เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านระบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 การแสดงดนตรีสร้างสรรค์ ชุด "รื่นภิรมย์ ชุมชนคนทำลา" เป็นผลงานดนตรีสร้างสรรค์ ของนักศึกษาชั้นปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 รายวิชาดนตรีสร้างสรรค์พื้นบ้านภาคใต้ โดยผู้สร้างสรรค์ ได้แนวคิดมาจากกรรมวิธีในการทำขนมลา ขนมหนึ่งในห้าชนิดของประเพณีบุญสารทเดือนสิบของทางภาคใต้ ถ่ายทอดอารมณ์ดนตรีผ่านบรรยากาศและกรรมวิธีในการทำขนมลา ด้วยเสียงและส...
ตอนร.5ท่านบันทึกไวีเขาเรียก*ห้องแห่ง ซึ่งพระองค์ทานสันนิษญานว่าขื่เรียกยี้มาจาการเลียนเสีงของฆ้อง ต่อมาพัฒนาเป็น*รองเง็ง*Ronggeng*
นึกว่า หมอ กฤษ คอนเฟริม เลยกดเข้ามาดูให้แน่ใจ 555555555
ชอบมากครับ เป็นตำนาน ที่อยู่ในใจตลอดไปครับ รอชมระบำอื่นๆของวิทยาลัยนะครับ
ไพเราะมากครับ หวานๆแบบใต้ตอนบน
ควรค่ากับการอนุรักษ์
สวยงามมากค่ะเคยชมแต่ลงสรงบนเวที ได้ชมลงสรงฮเนาที่แสดงกับธรรมชาติ งดงามมากๆค่ะ idea นี้
เคยเห็นแต่แสดงกับฉากวันนี้ได้เห็นฉากธรรมชาติก็ดูแปลกตาดีค่ะ
ชื่นชมอย่างยิ่งกับตัวละคร และขอบพระคุณท่านอาจารย์ที่ให้ความรู้ถึงทีมาของการแสดงชุดนี้ครับ
ปังๆๆๆๆ
ดือไม่ไหว
สวยงามมากๆค่ะ
เป็น 1 ใน 3 ทางที่น่าฟังของเพลงอาเฮียอยู่ครับ ทางแรก ทางปู่ยงค์ ที่ผมชอบมากๆ มีความหนักแน่นในทำนองดี ทางที่สอง ทางท่านพันโทเสนาะ ซึ่งมีความเกี่ยวดองในฐานะศิษย์รุ่นน้องรุ่นน้องปู่ยงค์ ต่อทางนี้ แล้วดัดแปลงบางท่อน นำไปเผยแพร่ให้กับคุณสมนึก ในการเดี่ยวประชัน ณ วัดพระพิเรนทร์ ทางสุดท้าย ทางพ่อปื๊ด สุพจน์ ซึ่งได้รับเค้าโครงจากทางแรกเช่นเดียวกัน
งดงามมากๆ
อยากให้ถ่ายทอดระบำตุมปังกับระบำกายนครด้วยคะ่
อยากให้ถ่ายทอดระบำตุมปังหน่อยครับความเป็นมาและท่ารำ
ลงเรียบร้อยแล้วครับ สามารถเข้ารับชมได้ครับ
สุดยอดเลยย
เยี่ยมมากครับ❤️
ดีงามมากค่ะ
ขอบคุณครับ
👍🏻ยอดเยี่ยมค่ะ