THE HEART BY QSHC
THE HEART BY QSHC
  • 21
  • 117 391
Heart Story EP.20 วิธีการใช้ยาอมใต้ลิ้น เมื่อมีอาการแน่นหน้าอกฉุกเฉิน โดยศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ มข.
"ยาอมใต้ลิ้น" Nitroglycerin (ไนโตรกลีเซอริน) คือ ยาขยายหลอดเลือดสำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ สามารถใช้ป้องกันอาการเจ็บหน้าอกจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดได้ ยานี้จะใช้ก็ต่อเมื่อมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเท่านั้น ซึ่งเภสัชกร จะย้ำให้ผู้ป่วยพกยานี้ติดตัวอยู่ตลอดเวลา ...วันนี้ เภสัชกร จากฝ่ายเภสัชกรรม ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ จะมาแนะนำวิธีการใช้ยาและข้อควรระวังสำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจที่ต้องใช้ยาประเภทนี้ ติดตามได้เลยครับ
Website : heart.kku.ac.th
Facebook : heartcenterkku
#heartstory #ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ #ยาอมใต้ลิ้น
มุมมอง: 1 102

วีดีโอ

Heart Story EP.19 ตรวจสุขภาพประจำปีดีอย่างไร???
มุมมอง 5317 หลายเดือนก่อน
การตรวจสุขภาพประจำปี เป็นสิ่งที่เราทุกคนควรจะทำ เพื่อเป็นการตรวจเช็คสุขภาพของเราเอง ให้มีสุขภาพที่ดี หรือถ้าหากมีอาการผิดปกติก็จะสามารถทำการรักษาได้อย่างรวดเร็ว
ภาพบรรยากาศงานประชุมวิชาการ 4th Annual Meeting "New Dawn in Cardiovascular Disease 2024"
มุมมอง 1067 หลายเดือนก่อน
QSHC จัดการประชุมวิชาการ “New Dawn in Cardiovascular Disease” ประจำปี พ.ศ. 2567 (วันที่ 24 มค.2567)​ รศ.นพ.ภัทรพงษ์ มกรเวส ผู้อำนวยการศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ เป็นประธานกล่าวเปิดงานประชุมวิชาการ “New Dawn in Cardiovascular Disease” ประจำปี พ.ศ. 2567 ซึ่งศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ จัดขึ้น เป็นครั้งที่ 4ในระหว่างวันที่ 24-26 มกราคม 2567 ณ โรงแรม อวานี โฮเต็ล แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น โดย นพ...
Heart Story EP.18 การสั่งยาผ่านระบบ CPOE เพื่อลดความผิดพลาดในระบบยา ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ
มุมมอง 55410 หลายเดือนก่อน
การสั่งยาผ่านระบบ (CPOE) ลดความผิดพลาดในระบบยา 💊💊😘 กระบวนการสั่งใช้ยา หรือ prescribing process เป็นหนึ่งในกระบวนการที่สำคัญของระบบยา หากคำสั่งการใช้ยาที่ไม่ชัดเจน อ่านไม่ออก มีผลให้พยาบาล เภสัชกร เข้าใจไม่ถูกต้องได้ ดังนั้น ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ จึงนำเทคโนโลยีเกี่ยวกับการสั่งใช้ยาหรือ Computerized Physician Order Entry (CPOE) ผ่านระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ เพื่อลดโอกาสเกิดความ คลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ย...
Heart Story EP.17 อยู่อย่างไร?กับภาวะหัวใจล้มเหลว Heart Failure Clinic QSHC
มุมมอง 1.4K11 หลายเดือนก่อน
📌จะเห็นว่าปัจจุบันการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว มีความก้าวหน้าไปมาก ทำให้สามารถลดอัตราการเสียชีวิต และยังทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น แต่ทั้งนี้การดูแลรักษาจะไม่สามารถทำได้ด้วยแผนกเดียว หรือแพทย์เพียงคนเดียวได้ จำเป็นต้องมีทีมสหสาขาวิชาชีพที่เข้มแข็ง ช่วยทำหน้าที่ดูแลให้การรักษาและติดตามอาการของผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 📌เราจะอยู่อย่างไรกับภาวะหัวใจล้มเหลว? จึงเป็นคำถามที่เราอยากจะบอกทุกคน...
Heart Story EP.16 แนะนำขั้นตอนการให้บริการห้องตรวจกุมารเวชศาสตร์หัวใจ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ
มุมมอง 420ปีที่แล้ว
Heart Story EP นี้ นำเสนอขั้นตอนการให้บริการห้องตรวจกุมารเวชศาสตร์หัวใจ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากตรวจวินิจฉัยในผู้ป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในผู้ใหญ่แล้ว ยังมีคลินิกพิเศษ 2 คลินิก คือ คลินิกโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในผู้ใหญ่ และคลินิกโรคความดันหลอดเลือดในปอดสูง อีกด้วย... Website : heart.kku.ac.th Facebook : heartcenterkku #heartstory #ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ
Heart Story EP.15 การให้ยาลดระดับความรู้สึกตัวก่อนการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง
มุมมอง 520ปีที่แล้ว
วันนี้ นายแพทย์สีหะพงษ์ เพชรรัตน์ กุมารแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ จะมาให้คำแนะนำเกี่ยวกับการให้ยาลดระดับความรู้สึกตัวในผู้ป่วยเด็ก ก่อนที่จะทำการตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหรือที่เรียกว่า เอคโค (Transthoracic Echocardiography ) รวมถึงการอธิบายถึงขั้นตอนการเตรียมตัวตรวจ ขั้นตอนขณะตรวจ และหลังตรวจของผู้ป่วยที่ให้ยาลดระดับความรู้สึก เพื่อติดตามอาการหากเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย Webs...
Heart Story EP.14 การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบต่อเนื่อง Holter monitoring
มุมมอง 2.5Kปีที่แล้ว
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบต่อเนื่อง (Holter Monitoring) (กดชมคลิบ) 🧐🧐 หากท่านเข้ารับการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อประเมินจังหวะการเต้นของหัวใจ และแพทย์ตรวจพบว่ามีสัญญาณของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ แพทย์จะให้ผู้ป่วยติดเครื่อง (Holter Monitoring) หรือ อุปกรณ์ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา เพื่อบันทึกการเต้นของหัวใจ และตรวจหาจังหวะการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ ก่อนนำข้อมูลมาวินิจฉัยอาการเพิ่มเติม วันนี้ เรามาทำค...
Heart Story EP.13 เอคโคหัวใจ การตรวจวินิจฉัยโรคหัวใจในเด็ก
มุมมอง 3.7Kปีที่แล้ว
“เอคโคหัวใจ” (Echocardiography) ...ทำไมต้องตรวจ? (กดรับชมคลิป) 🥰🥰 ผู้ป่วยที่มีอาการหัวใจเต้นผิดปกติ และได้รับคำวินิจฉัยจากแพทย์ว่าให้ตรวจ “เอคโคหัวใจ” คงสงสัยว่าการตรวจที่ว่านี้เป็นอย่างไร? ทำไมจึงต้องตรวจ? ตรวจแล้วจะมีอาการเจ็บหรือไม่? วันนี้เรามาทำความรู้จักการตรวจเอคโคหัวใจและการตรวจวินิจิจฉัยโรคหัวในเด็กให้มากขึ้น กับ อาจารย์แพทย์หญิงประทับใจ นิ่มบริบูรณ์พร กุมารแพทย์โรคหัวใจ ศูนย์หัวใจสิริ...
Heart Story EP.12 : Zero event แนวทางป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
มุมมอง 584ปีที่แล้ว
ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ ให้ความสำคัญเรื่องการแพ้ยาซ้ำ จึงมีการซักประวัติข้อมูลการแพ้ยาของผู้มารับบริการในทุกจุดบริการ เริ่มตั้งแต่แรกรับ ไปตลอดช่วงระยะการรักษาจนเมื่อจำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้านก็จะมีการส่งต่อข้อมูลการแพ้ยาของผู้ป่วยเพื่อป้องกันการเกิดแพ้ยาซ้ำ ทั้งนี้ผู้ป่วยต้องแจ้งประวัติแพ้ยาและแสดงบัตรแพ้ยาทุกครั้งที่เข้ารับบริการ เพื่อการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ ซึ่งถือเป็นเรื่องความร่วมมือระหว่างผู้ป่วยท...
Heart Story EP. 11 แนะนำขั้นตอนการตรวจกลืนกล้อง ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ
มุมมอง 4.4Kปีที่แล้ว
ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ โดยห้องตรวจพิเศษทางหัวใจและหลอดเลือด มีคำแนะนำเรื่องการตรวจกลืนกล้อง หรือการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง การตรวจด้วยวิธีนี้คือการตรวจหัวใจด้วยเครื่องอัลตร้าซาวน์ โดยใช้อุปกรณ์ใส่ผ่านช่องปากไปยังหลอดอาหาร เพื่อตรวจหาความผิดปกติของหัวใจ เช่น ผนังหัวใจรั่ว ลิ้นหัวรั่ว การติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ ซึ่งจะช่วยให้แพทย์สามารถตรวจดูโครงสร้างและการทำงานของหัวใจ ซึ่งได้ภาพที่ชัด...
Heart Story EP.10 แนะนำการเตรียมตัวและขั้นตอนการเดินสายพานทดสอบสมรรถภาพหัวใจเพื่อวินิจฉัยโรค
มุมมอง 1.7Kปีที่แล้ว
สำหรับ Heart Story EP.10 นี้ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ โดยห้องตรวจพิเศษทางหัวใจและหลอดเลือด มีคำแนะนำเกี่ยวกับการเดินสายพาน สำหรับผู้ที่ต้องการทดสอบสมรรถภาพหัวใจเพื่อวินิจฉัยโรค โดยเป็นการบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังด้วยการเดินบนสายพานเลื่อน การตรวจด้วยวิธีนี้จะช่วยให้แพทย์ทราบถึงสาเหตุเบื้องต้นของอาการเจ็บหน้าอกและช่วยประเมินความแข็งแรงของหัวใจขณะออกกำลัง... facebook fanpage : hear...
Heart Story EP.9 การรักษาภาวะติดเชื้อโควิด 19 ในผู้ที่ใช้ยาวาร์ฟาริน (Warfarin)
มุมมอง 9472 ปีที่แล้ว
คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้ยารักษาภาวะติดเชื้อโควิด 19 ในผู้ที่ใช้ยาวาร์ฟาริน (Warfarin) ของเภสัชกรจากศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Heart Story EP.8 Basic Life Support กู้ชีพขั้นพื้นฐาน CPR
มุมมอง 81K2 ปีที่แล้ว
heart story ตอนนี้ เรามาเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน หรือ CPR เพื่อช่วยเหลือผู้ที่หมดสติในภาวะฉุกเฉิน โดยตัวแทนจากหน่วย CPR ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น #heartstory #ภาวะหมดสติเฉียบพลัน #QSHC
Heart Story EP.7 มารู้จักภาวะหมดสติเฉียบพลันอันตรายที่อย่ามองข้าม(โรควูบ)
มุมมอง 1.2K2 ปีที่แล้ว
heart story ตอนนี้ เรามาทำความรู้จักกับภาวะหมดสติเฉียบพลัน(โรควูบ) ซึ่งเป็นภัยอันตรายที่เราทุกคนไม่ควรมองข้าม โดยได้รับเกียรติจาก อ.พญ.ดุจดาว สหัสทัศน์ อายุรแพทย์หัวใจและหลอดเลือด ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นผู้ที่จะมาให้ความรู้และวิธีป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจากภาวะหมดสติเฉียบพลัน #heartstory #ภาวะหมดสติเฉียบพลัน #QSHC
Heart Story EP.6 โรคลิ้นหัวใจเออออร์ติกตีบ เสี่ยงเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
มุมมอง 8352 ปีที่แล้ว
Heart Story EP.6 โรคลิ้นหัวใจเออออร์ติกตีบ เสี่ยงเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
Heart Story EP.5 ทำความรู้จักการผ่าตัดบายพาสหัวใจ CABG Clip
มุมมอง 8K2 ปีที่แล้ว
Heart Story EP.5 ทำความรู้จักการผ่าตัดบายพาสหัวใจ CABG Clip
Heart Story EP.4 ลดความเสี่ยงภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure)
มุมมอง 5502 ปีที่แล้ว
Heart Story EP.4 ลดความเสี่ยงภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure)
Heart Story EP. 3 รู้เท่าทันมหันตภัยร้ายโรคหลอดเลือดแดงใหญ่ Aorta
มุมมอง 8492 ปีที่แล้ว
Heart Story EP. 3 รู้เท่าทันมหันตภัยร้ายโรคหลอดเลือดแดงใหญ่ Aorta
Heart Story EP2 : การเตรียมตัวก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดหัวใจ
มุมมอง 6K2 ปีที่แล้ว
Heart Story EP2 : การเตรียมตัวก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดหัวใจ
Heart Story EP 1: ข้อปฏิบัติของผู้ป่วยที่ใช้ยาโรคหัวใจและหลอดเลือดในช่วงรักษาโควิด 19
มุมมอง 2032 ปีที่แล้ว
Heart Story EP 1: ข้อปฏิบัติของผู้ป่วยที่ใช้ยาโรคหัวใจและหลอดเลือดในช่วงรักษาโควิด 19

ความคิดเห็น

  • @ampawanchantarot4279
    @ampawanchantarot4279 2 วันที่ผ่านมา

    ขอบคุณค่ะ

  • @suwimonkamasiri9495
    @suwimonkamasiri9495 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณค่ะ😊

  • @ภารณีใจเที่ยง
    @ภารณีใจเที่ยง หลายเดือนก่อน

    ถ้าอายุ82 วินิจฉัยDVD WITH LM DM HT ความเสี่ยงในการทำบายพาสกี่เปอร์เซนต์คะ

  • @เกสรทองเพ็งพินิจ-ธ1ด
    @เกสรทองเพ็งพินิจ-ธ1ด 2 หลายเดือนก่อน

    มีกู้ภัยคร่อมตรงหัวคนเจบละกดหน้าอก แบบนี้ก็ได้หรอ😂 ดมหำไปดิ555+

  • @NittayaNuangduay
    @NittayaNuangduay 2 หลายเดือนก่อน

    เพิ่งผ่าตัดกับคุณมา 3/7/67 คุณหมอเก่งมากๆค่ะ ต้องขอขอบคุณคุณหมอและทีมแพทย์ที่ผ่าตัดหัวใจให้หนูมีโอกาสกลับมาปข็งแรงอีกครั้ง ขอบคุณมากๆค่ะ❤

  • @ปัญญาชูนอง-น5ฃ
    @ปัญญาชูนอง-น5ฃ 2 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @ปัญญาชูนอง-น5ฃ
    @ปัญญาชูนอง-น5ฃ 2 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @catbb2117
    @catbb2117 2 หลายเดือนก่อน

    ไดัความรู้ดีและวิธีการทำขอบคุณครับ

  • @ปัญญาชูนอง-น5ฃ
    @ปัญญาชูนอง-น5ฃ 2 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @วรุฬธรนิด
    @วรุฬธรนิด 2 หลายเดือนก่อน

    ❤❤❤

  • @ปัญญาชูนอง-น5ฃ
    @ปัญญาชูนอง-น5ฃ 2 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @bearkimhongwit3735
    @bearkimhongwit3735 2 หลายเดือนก่อน

    ปั๊มตรงนี้

  • @bearkimhongwit3735
    @bearkimhongwit3735 2 หลายเดือนก่อน

    กูผิดเอง

  • @KsJj-l3o
    @KsJj-l3o 3 หลายเดือนก่อน

    และเปนอีกหลายโรคคะเบื่อตัวเองเคยทำงานได้ทำไมโรคหัวใจทำไมถึงเหนื่อขนาดนี้คะคุณหมอ ตอนแรกนึกว่าเหนื่อโรคไตคงขึ้น5มั้งถึงได้เหนื่อขนาดนี้กำลังใจคุณหมอคะ ❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤สวัสดี​

    • @theheartbyqshc2838
      @theheartbyqshc2838 2 หลายเดือนก่อน

      ทางศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ ขอเป็นกำลังใจให้นะครับ

  • @KsJj-l3o
    @KsJj-l3o 3 หลายเดือนก่อน

    ยายเป็นโรคหัวใจคะเหนื่อยมากๆเดินนิดหน่อยเหงื่อเต็มตะหน้ามืดคะมีไอคะ เป็นโรคไตระดับ3ความดันสูงคะกระเพราะลำ้ไส้ภูมแพ้คะแพ้ทุกอย่างแพ้แป้งแพ้สบุ่แพ้ฝุ่นอาบนำ้ส้มมาหลายปีคะเพราะใช้สบุ่ตัวไหม้คะเคยเส้นเลือดสมองแตกเดินไม่ได้ปากเบี้ยวแขนขวาจับขันล่วงคะตอนนี้หายแต่บางครั้งยังกับมาปวดเดินยากปากเบี้ยวกับมาคะนอนหมอนหบายใบเจ็บหัวใจคะบางครั้งถ้าหลับคงไปเลยคะต้องลุกนั่งคะและหมอให้ไปผ่าเท้าเท้าบวมมาก2ข้างแต่ยายไม่ผ่าคะแหละตับไม่ทำงานเหงื่อไม่ออกต้องกินยาให้ของเสียออกทางผืวหนังจะมีกลิ่นตัวกลิ่นปากคะไปถอนฟันหมอไม่ถินให้หลายเล่มไปถอนแต่อุดให้หลายครั้งจนฟันมีหนอง3เล่มตอนนี้ได้คุณหมอดีปริญญาโทถอนให้คะทรมารมานานมากเลยคะเคี้ยวข้าวเอาฟันหน้าเคี้ยวส่วนมากโจ๊ะคะไปอนามัยตรวจแต่ไม่ถอนคะตอนนี้รักษาเหงือกอยุ่คะ

  • @amnatlaotong7262
    @amnatlaotong7262 3 หลายเดือนก่อน

    ไม่ผายปอดด้วยหรอครับ

  • @santiphiamkunakorn4621
    @santiphiamkunakorn4621 3 หลายเดือนก่อน

    ผมก็เคยผ่าตัดที่รพ หัวใจสิริกิติ์ขอนแก่น เมื่อ 25พค65 กับอาจารย์หมอชลัช (หมอหนุ่มคนขวา) ท่านนี้แหละครับ หมอชลัช หล่อยังกะเอาพระเอกหนังมาแต่งชุดหมอยังไงยังงั้นเลย ทั้งพูดจาสุภาพ ยิ้มแย้มแจ่มใส มีความเป็นผู้ดี สมกับเป็นคนระดับมันสมองจริงๆครับ ต้องขอบคุณที่ทำให้ผมพ้นทรมาน กลับมามีชีวิตที่สดใสในทุกวันนี้เลยครับ

  • @มิสเตอร์โต้ง
    @มิสเตอร์โต้ง 3 หลายเดือนก่อน

    จังหวะนั้น ใครจะนึกเพลงคุกกี้ออกฮะ

    • @matdomo2014
      @matdomo2014 2 หลายเดือนก่อน

      นับเเบบ1เเละ2เเละ3เเละ4ครับให้ครบ30ครี้งละประเมินชีพจร

  • @kat.kampong-weerada
    @kat.kampong-weerada 4 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์รู้จักคนชื่อ ฐะนียา วรรณศรี ไหมคะ???

    • @kat.kampong-weerada
      @kat.kampong-weerada 4 หลายเดือนก่อน

      Do you know who is Thaneeya Wannasri??? Thanks you from thailand.❤

  • @MarisaSittiphon
    @MarisaSittiphon 4 หลายเดือนก่อน

    นาง้ป้นโรคเส้นเลือดแดงใหญป่งพองในทรวงอกและช่องท้องค่ะ...แถมหลังคอมอีกค่ะ.. ถามหมอว่าหมอทำอะไรไห้นางหมอตอบในตัวคนใข้มีเเต่ของเทึยมหมดเลยมีของตัวเองที่ช้วงลำคอ...แค่สั้นๆเอง. นอกนั้นของเทียม..อยากทราบว่าสรุปนางเปลี่ยนหรือใสอะไรไปบ้างค่ะ

  • @MarisaSittiphon
    @MarisaSittiphon 4 หลายเดือนก่อน

    นางผ่าตัดแบบเเผลเปิด...และต้องทำไห้หัวใจหยุดเต้นในการผ่าตัดค่ะ..ถลินิเกรด. สมอคำ..เสียเลือดมากๆเลยค่ะ

  • @MarisaSittiphon
    @MarisaSittiphon 4 หลายเดือนก่อน

    นางผ่าสองครั้งร่วมกัน16ชั่วโมง..ลอบสามถึงเย้บเเผลค่ะ..ถลินิเกรด. สม อคำ.. นางนอนโรงพยาล1เดือน1อาทิตย์...ผ่าเเบบแผลเปิดใหญ่มาก

  • @MarisaSittiphon
    @MarisaSittiphon 4 หลายเดือนก่อน

    ใช่เราเจอมาเเล้วคนไข้ถามกินยา...แต่หยาบาลบอกว่าเอาไห้กินเเล้ว...เราเลยว่าไห้กินไม่หมดค่ะไห้กินแต่ยาระบายสองเม้ด...เหลือยาลิ้มเลือด...สุดท้ายหมอก็ไปเอามาไห้เรากิน..และขอโทษคนไข้ด้วยค่ะหมอลำผิด

  • @ปัญญาชูนอง-น5ฃ
    @ปัญญาชูนอง-น5ฃ 5 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @xcv8492
    @xcv8492 5 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @NittayaNuangduay
    @NittayaNuangduay 6 หลายเดือนก่อน

    สวัสดีค่ะพี่ นิตยานะคะจำได้ไหมหนูเพิ่งทำกับพี่วันนี้เอง พี่ใจดีแนะนำดี ให้กำลังใจดีมากๆๆเลยค่ะ ขอบคุณนะคะ🥰🥰

  • @หนูจรวัฒนสิงห์-ฉ3ผ
    @หนูจรวัฒนสิงห์-ฉ3ผ 8 หลายเดือนก่อน

    ชอบ❤❤❤

  • @workismoney9118
    @workismoney9118 8 หลายเดือนก่อน

    สุดยอดไปเลยครับ ผมขอแชร์ไปยังกลุ่ม อปพร.นะครับ

  • @หนูจรวัฒนสิงห์-ฉ3ผ
    @หนูจรวัฒนสิงห์-ฉ3ผ 8 หลายเดือนก่อน

    ขอบ❤❤

  • @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ
    @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ 8 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ
    @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ 8 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ
    @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ 8 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ
    @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ 8 หลายเดือนก่อน

    Punya

  • @MsNoreturn
    @MsNoreturn 11 หลายเดือนก่อน

    ต้องคลำชีพจรที่คอก่อนcprไหม

    • @Pongpaksss
      @Pongpaksss 3 หลายเดือนก่อน

      ประชาชนทั่วไปคลำไม่เป็นหรอกครับ มัวแต่คลำ delay พอดี

  • @thimpikapromsombat5413
    @thimpikapromsombat5413 ปีที่แล้ว

    ลูกชายกำลังเป็นหัวใจเต้นผิดจังหวะ น้องเป็นนักกีฬา

    • @agmobile8857
      @agmobile8857 9 หลายเดือนก่อน

      อากานเปันไงครับ

  • @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ
    @ปัญญาชูนอง-ฦ2ฐ ปีที่แล้ว

    Punya

  • @pisittrakulboonrak9566
    @pisittrakulboonrak9566 ปีที่แล้ว

  • @pisittrakulboonrak9566
    @pisittrakulboonrak9566 ปีที่แล้ว

  • @pisittrakulboonrak9566
    @pisittrakulboonrak9566 ปีที่แล้ว

  • @noonamcase
    @noonamcase ปีที่แล้ว

    ❤❤❤❤

  • @noonamcase
    @noonamcase ปีที่แล้ว

    มีค่าตรวจเบื้องต้นเท่าไหร่ค่ะ

  • @mkh_MAKUBHIA
    @mkh_MAKUBHIA ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆที่นำมาให้ความรู้ครับ

  • @wathanaphon1
    @wathanaphon1 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @รุ่งรัตน์ปั้นรอด

    ขอบคุณความรู้ดีๆครับ

  • @นรินทร์ชลเขตต์
    @นรินทร์ชลเขตต์ ปีที่แล้ว

    😂❤❤😊😊

  • @นฤมลศรีผ่อง-ม4ว
    @นฤมลศรีผ่อง-ม4ว ปีที่แล้ว

    มาเเล้ว

  • @วุฒิพลแันทะยะ
    @วุฒิพลแันทะยะ ปีที่แล้ว

    Check uhygiuuj

  • @faisomjai
    @faisomjai ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากนะคะ คลิปชัดเจน เข้าใจง่ายค่ะ

  • @dangmr1479
    @dangmr1479 ปีที่แล้ว

    เมือ่เดือนตุลาทีผ่านมา เป็นภูมิแพ้ไปหาหมอ หมอฉีดยาสลายลิ่มเลือด แต่ตอนที่ฉีดไม่ทราบว่าเป็นยาสลายลิ่มเลือด หลังฉีดไม่ถึงครึ่งชม.เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรงหายใจไม่ออก ตัวเย็น ไปรพ.บอกหมอแพ้ยา แต่ไม่รู้ว่าแพ้ยาอะไร หมอไม่เชื่อแค่เข้านำ้เกลือแล้วให้กลับบ้าน อการหนักขึ้นเดือนกว่า จนต้องไปคลีนิคหมอเลยฉีดยาสลายลิ่มเลือดให้ จึงรู้ว่ายาเข็มแรกไปฉีดเป็นยาวลายลิ่มเลือด เพราะจำสีและกลิ่นไปได้ ยาสีขาวเกล็่นเหม็นเหมือนน้ำมัน และก็แพ้หนักเหมือนตอนแรกอดทนอยู่บ้านได้ห้าวัน ไปรพ.บอกหมอแพ้ยามาห้าวันเล่าอาการ หมอก็ตรวจวัดทุกอย่าง แล้วก็ฉีดยาแก้แพ้ยา ยานั้นเป็นนำ้ใสสามเข็ม อยากถามว่าจะมีโอกาส แพ้ยาที่หมอฉีดให้หรือไม่ หมายถึงแพ้ยาแล้วฉีดยา แก้แพ้ยาอีกที จะมีโอากสแพ้ซำ้หรือไม่