Anchan__
Anchan__
  • 121
  • 255 527

วีดีโอ

การสืบพันธุ์ของพืชดอก | การสร้างเซลล์สืบพันธุ์​ | EP. 3 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan__
มุมมอง 3502 ปีที่แล้ว
00:00 บทนำ 01:10 เพศผู้ 05:47 Male gametophyte 09:07 เพศเมีย 12:35 Female gametophyte 15:12 Pollination 17:49 Fertilization 19:27 การเกิดผล และเมล็ด
การสืบพันธุ์ของพืชดอก | วัฏจักรชีวิตของพืชดอก​ | EP. 2 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan__
มุมมอง 2962 ปีที่แล้ว
00:00 บทนำ 03:49 ช่วงชีวิต 07:55 วัฏจักรชีวิตแบบสลับ 12:30 Gametophyte 15:36 สรุปแนวคิด 17:53 เพศ 20:47 เปรียบเทียบ
การสืบพันธุ์ของพืชดอก | ประเภทของดอก​ | EP. 1 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan__
มุมมอง 3512 ปีที่แล้ว
0:00 บทนำ 2:00 สารบัญ 4:38 โครงสร้างของดอก 11:00 ประเภทของดอก 13:09 เกณฑ์ 2 เพศของดอก 16:22 เกณฑ์ 3 ตำแหน่งของรังไข่ 19:30 จำนวนดอกบนก้านดอก
ทบทวน การดำรงชีวิตของพืช EP. 3 | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan__
มุมมอง 5993 ปีที่แล้ว
ทบทวน การดำรงชีวิตของพืช EP. 3 | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan
ทบทวน การดำรงชีวิตของพืช EP. 2 | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan__
มุมมอง 5433 ปีที่แล้ว
ทบทวน การดำรงชีวิตของพืช EP. 2 | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan
ทบทวน การดำรงชีวิตของพืช EP. 1 | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan__
มุมมอง 6253 ปีที่แล้ว
ทบทวน การดำรงชีวิตของพืช EP. 1 | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan
ทบทวน ระบบย่อยอาหาร EP. 3 | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 6583 ปีที่แล้ว
ทบทวน ระบบย่อยอาหาร EP. 3 | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
ทบทวน ระบบย่อยอาหาร EP. 2 | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 6193 ปีที่แล้ว
ทบทวน ระบบย่อยอาหาร EP. 2 | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
ทบทวน ระบบย่อยอาหาร EP. 1 | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 5673 ปีที่แล้ว
ทบทวน ระบบย่อยอาหาร EP. 1 | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan__
มุมมอง 1853 ปีที่แล้ว
สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan
Plant Response EP. 2 | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan__
มุมมอง 2073 ปีที่แล้ว
Plant Response EP. 2 | วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง 1 ​| EP. 5 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan__
มุมมอง 4223 ปีที่แล้ว
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง 1 ​| EP. 5 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ ​| EP. 4 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan__
มุมมอง 3343 ปีที่แล้ว
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ ​| EP. 4 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย ​| EP. 3 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan__
มุมมอง 3603 ปีที่แล้ว
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย ​| EP. 3 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan
ลักษณะสำคัญของเนื้อเยื่อเจริญ ​| EP. 2 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan__
มุมมอง 1953 ปีที่แล้ว
ลักษณะสำคัญของเนื้อเยื่อเจริญ ​| EP. 2 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan
โครงสร้างที่ห่อหุ้มเซลล์พืช ​| EP. 1 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan__
มุมมอง 3433 ปีที่แล้ว
โครงสร้างที่ห่อหุ้มเซลล์พืช ​| EP. 1 | ชีววิทยา​ 3 | Anchan
การหายใจของมนุษย์ | การควบคุมการหายใจ | EP. 4 [2/2] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 1.6K3 ปีที่แล้ว
การหายใจของมนุษย์ | การควบคุมการหายใจ | EP. 4 [2/2] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การหายใจของมนุษย์ | EP. 4 [1/2] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 1.4K3 ปีที่แล้ว
การหายใจของมนุษย์ | EP. 4 [1/2] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การแลกเปลี่ยนแก๊ส และการลำเลียงแก๊ส | การแลกเปลี่ยนแก๊ส | EP. 3 [3/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 1.7K3 ปีที่แล้ว
การแลกเปลี่ยนแก๊ส และการลำเลียงแก๊ส | การแลกเปลี่ยนแก๊ส | EP. 3 [3/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การแลกเปลี่ยนแก๊ส และการลำเลียงแก๊ส | ความดันย่อยของแก๊ส | EP. 3 [1/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 1.6K3 ปีที่แล้ว
การแลกเปลี่ยนแก๊ส และการลำเลียงแก๊ส | ความดันย่อยของแก๊ส | EP. 3 [1/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การแลกเปลี่ยนแก๊ส และการลำเลียงแก๊ส | ฮีโมโกลบิน | EP. 3 [2/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 1.7K3 ปีที่แล้ว
การแลกเปลี่ยนแก๊ส และการลำเลียงแก๊ส | ฮีโมโกลบิน | EP. 3 [2/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
อวัยวะและโครงสร้างในระบบหายใจของมนุษย์ | EP. 2 [1/1] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 1.9K3 ปีที่แล้ว
อวัยวะและโครงสร้างในระบบหายใจของมนุษย์ | EP. 2 [1/1] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ | EP. 1 [3/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 5K3 ปีที่แล้ว
การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ | EP. 1 [3/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ | ปลา | EP. 1 [2/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 8K3 ปีที่แล้ว
การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ | ปลา | EP. 1 [2/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ | EP. 1 [1/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 5K3 ปีที่แล้ว
การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ | EP. 1 [1/3] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การรักษาดุลยภาพของมนุษย์ โดยระบบขับถ่าย | EP. 3 [1/1] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 5353 ปีที่แล้ว
การรักษาดุลยภาพของมนุษย์ โดยระบบขับถ่าย | EP. 3 [1/1] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การขับถ่ายของมนุษย์ | Kidney | EP. 2 [1/2] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 6613 ปีที่แล้ว
การขับถ่ายของมนุษย์ | Kidney | EP. 2 [1/2] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
การขับถ่ายของมนุษย์ | Nephron | EP. 2 [2/2] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan__
มุมมอง 6743 ปีที่แล้ว
การขับถ่ายของมนุษย์ | Nephron | EP. 2 [2/2] | ชีววิทยา​ 4 | Anchan
ทบทวน พันธุกรรม และวิวัฒนาการ | Genetics & Evolution| วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan__
มุมมอง 4.2K3 ปีที่แล้ว
ทบทวน พันธุกรรม และวิวัฒนาการ | Genetics & Evolution| วิทยาศาสตร์​ชีวภาพ​ | Anchan

ความคิดเห็น

  • @maewhan4609
    @maewhan4609 3 วันที่ผ่านมา

    มาชมและให้กำลังใจจ้า

  • @prokai-wv6pj
    @prokai-wv6pj หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากคับ ผมอยู่ม.2แต่ต้องใช้สอบ😢😢😢

  • @nattharikakanthiya8270
    @nattharikakanthiya8270 3 หลายเดือนก่อน

    เอกสารประกอบการเรียนดาวโหลดได้ที่ไหนคะ สอนดีมากค่ะ เข้าใจง่าย

  • @surapolsa
    @surapolsa 3 หลายเดือนก่อน

    การเผาไหม้=Combustion/Incineration..เรียนแทบตายรู้ไปหมด แต่ไม่สามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้. วิทยาศาสตร์จึงไร้เสน่ห์ในความอยากเรียนรู้ของสังคมไทย..วัฏจักรฯเหล่านี้..นักวิชาการเกษตรต้องรู้จริง..รู้ลึก..เกษตรกรต้องรู้ลึกรู้จริง..งานเกษตร. งานกสิกรรม คือวิทยาศาสตร์ล้วนๆมิใช่ไสยศาสตร์แบบกราบไหว้คำทำนายของพระโค..ครับผม😊😊😊

  • @Sandwichcops
    @Sandwichcops 4 หลายเดือนก่อน

    เท่าที่ผมเข้าใจคือ ใน henle loop เขาใช้ facilitated ลำเลียงนํ้า ผ่าน aquaporin ซึ่ง ในเงื่อนไขการใช้ facilitated จะเป็นสารชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ผ่านprotein membrane แต่นํ้าน่าจะผ่าน membrane ได้โดยตรงรึปล่าวครับ

    • @Sandwichcops
      @Sandwichcops 4 หลายเดือนก่อน

      หรือผมสับสนไปเอง

  • @wishmeanri
    @wishmeanri 5 หลายเดือนก่อน

    พอมีช่องทางการติดต่อไหมคะ สนใจอยากเรียนพิเศษค่ะ

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 5 หลายเดือนก่อน

      ช่วงนี้ ไม่ได้รับสอนหน่ะค่ะ 😥

    • @wishmeanri
      @wishmeanri 4 หลายเดือนก่อน

      @@anchan__6164 แงโอเคค่ะ ㅜㅜ🥹🥹

  • @SuanKasetPP
    @SuanKasetPP 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณสำหรับคำอธิบาย เข้าใจง่าย มีประโยชน์สำหรับ เกษตรกรรม

  • @SuanKasetPP
    @SuanKasetPP 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณสำหรับคำอธิบาย

  • @WJHouto
    @WJHouto 7 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ

  • @สุดหล่อนครศรีฯ
    @สุดหล่อนครศรีฯ 8 หลายเดือนก่อน

    สอนดีมากครับ

  • @จิ้บกับหน่อไม้
    @จิ้บกับหน่อไม้ 9 หลายเดือนก่อน

    พอจะมีเอกสารประกอบการเรียนมั้ยคะ💖

  • @watsak6840
    @watsak6840 11 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ 😊

  • @eyip38
    @eyip38 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมาก คะครู สำหรับคลิปดีๆ

  • @tomprommas7357
    @tomprommas7357 ปีที่แล้ว

    ได้ยินเขาพูดว่า ถ้าขาดkจะทำให้ปากใบปิดไม่สนิท เลยอยากรู้เหตุผล กลไกลว่ามันทำงานยังไง ถึงปิดไม่สนิทครับครู …

  • @eyip38
    @eyip38 ปีที่แล้ว

    สอนดีมาก รูปภาพทำให้เข้าใจง่าย ขอบคุณมากคะ

  • @Natwara-ro9gy
    @Natwara-ro9gy ปีที่แล้ว

    เราเข้าใจมากเลย ของคุณที่ทำคลิปนี้นะคะ❤

  • @lumine_.so._cute9430
    @lumine_.so._cute9430 ปีที่แล้ว

    เข้าใจง่ายมากเลยค่ะ😊

  • @travelboybyaliakbarno.175
    @travelboybyaliakbarno.175 ปีที่แล้ว

    ดีมาก

  • @sutat11
    @sutat11 ปีที่แล้ว

    สงสัยอย่างนึง แล้วถ้าปลามันหายใจด้วยเหงือก ที่ต้องใช้น้ำในการนำพาออกซิเจน แต่ทำไมปลา ที่อยู่ในบ่อที่ออกซิเจนในน้ำต่ำ ทำไมมันต้องพยายามมาหายใจเหนื่อน้ำด้วยล่ะ เหมือนกับว่า ข้างบน มีออกซิเจนสูงกว่า มันต้องขึ้นมาไม่งั้นตายแน่ ๆ อะไรแบบนั้น แถ้วถ้าแบบนั้น ทำไมมันไม่ขึ้นมาอยู่บนบกซะเลยล่ะ อันนี้สังเกตุจากปลากราฟที่บ้านนะ เวลาไฟดับนาน ๆ มันจะมาหายใจพะงาบ ๆ บนผิวน้ำมัน

  • @dusitkp5874
    @dusitkp5874 ปีที่แล้ว

    ครับ

  • @dusitkp5874
    @dusitkp5874 ปีที่แล้ว

    มีเอกสารประกอบการเรียนไหมคพ

  • @jjn2p399
    @jjn2p399 ปีที่แล้ว

    การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในวัฏจักรนี้คืออะไรหรอครับ

  • @MUMU-my3hj
    @MUMU-my3hj 2 ปีที่แล้ว

    สามารถทบทวนเนื้อหาที่เคยเรียนได้ดีครับ ☆

  • @scjw1959
    @scjw1959 2 ปีที่แล้ว

    มีช่องทางติดต่อเรื่องงานบรรยายไหมครับ ผมสนใจเรื่องจุลินทรีย์ในดิน ของอาจารย์ Dr Elaine Ingham

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 2 ปีที่แล้ว

      ไม่ทราบเลยค่ะ 😢

    • @scjw1959
      @scjw1959 2 ปีที่แล้ว

      @@anchan__6164 คุณ Anchan รับงานบรรยายไหมครับสามารถติดต่อยังไงได้บ้างครับ

  • @notongravity5467
    @notongravity5467 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับ

  • @MUMU-my3hj
    @MUMU-my3hj 2 ปีที่แล้ว

    สอนเข้าใจง่ายมากครับ

  • @waushishi6072
    @waushishi6072 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ 🙏

  • @MUMU-my3hj
    @MUMU-my3hj 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @MUMU-my3hj
    @MUMU-my3hj 2 ปีที่แล้ว

    สอนดีมากครับเข้าใจง่าย

  • @MUMU-my3hj
    @MUMU-my3hj 2 ปีที่แล้ว

    สนุกมากครับ♡

  • @MUMU-my3hj
    @MUMU-my3hj 2 ปีที่แล้ว

    พึ่งมาดูครับพี่น่ารักมากครับ♡♡

  • @loveetion464
    @loveetion464 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับคลิปนะครับ

  • @รุจิลดาแก้วกระจ่าง-ษ7ศ

    มีช่องติดต่อไหมคะเพื่ออยากสอบถามค่ะ

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 2 ปีที่แล้ว

      ถามไว้ในคอมเม้นก่อยได้ค้าา

  • @MrWeang
    @MrWeang 2 ปีที่แล้ว

    จุดเริ่มต้นควรเริ่มจากพวกเชื้อราไมเคอไรซ่าเกาะที่รากพืชแล้วย่อยแร่ธาตุที่มีฟอสฟอรัสแล้วต้นไม้ดูดไปใช้

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 2 ปีที่แล้ว

      mycorrhiza เกี่ยวข้องกับวัฏจักรไนโตรเจน ทำหน้าที่ในการตรึงไนโตรเจนให้พืช ไม่เกี่ยวข้องกับฟอสฟอรัส นะคะ

  • @สุรพลแสนสิงห์
    @สุรพลแสนสิงห์ 2 ปีที่แล้ว

    ออกซิเจนในใบมันออกมาที่ทางไหนคับคุณครู

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 2 ปีที่แล้ว

      รูปากใบ ค่ะ

  • @asmanisa7516
    @asmanisa7516 2 ปีที่แล้ว

    ดีมากเลยค่ะ🥰👍🏻

  • @kanaykawnui1415
    @kanaykawnui1415 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมเลยครับ ดีมากเลย พี่กำลังจะทำธุรกิจเกี่ยวกับการกับต้นไม้อยู่พอดีครับ

  • @2princes271
    @2princes271 2 ปีที่แล้ว

    สอบถามหน่อยครับ ในนาทีที่0:43 ในคลิปมีการพูดว่ารากแก้วอย่างเช่นรากผักชี ผมได้ลองปลูกผักชีในระบบไฮโดรโปนิก รากที่ออกมามีเป็นรากแขนงเยอะมากครับ อยากทราบว่าการที่ปลูกในน้ำทำไมถึงมีรากแขนงเยอะกว่าการปลูกในดินครับ

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 2 ปีที่แล้ว

      น่าขนาดเล็กที่เกิดขึ้น น่าจะเป็นรากฝอยมากกว่านะคะ ซึ่งทำให้พื้นที่ผิวสัมผัสกับน้ำมากขึ้นกว่าการมีรากแก้วค่ะ

  • @สายวิทย์ใจศิลป์
    @สายวิทย์ใจศิลป์ 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณ​ค่ะ

  • @Bumbum-ul3ti
    @Bumbum-ul3ti 2 ปีที่แล้ว

    มีคลิปหายใจระดับเซลล์มั้ยคะ หาคลิปไม่เจอเลยค่ะ สอนดีมาก🥺

  • @jedsaritkaewpaew9598
    @jedsaritkaewpaew9598 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณ​มากครับสำรับเด็กที่หลับในห้อง555555พน.ผมสอบกลางภาคเเล้วมาเจอคลิปของคุณครูพอดีเลย🙏🙏

  • @9parichatinkhai723
    @9parichatinkhai723 2 ปีที่แล้ว

    มีเอกสารประกอบการเรียนไหมคะ สอนเข้าใจมากๆเลยค่ะ ภาพสวยด้วย ขอบคุณนะคะ

  • @jamepurinut4112
    @jamepurinut4112 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณที่ทำสื่อการสอนดีๆให้ผมได้เรียนะนครับ ขอบคุณมากครับ สอนดีมากครับครู

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณ​ค้าาา

  • @ranida1902
    @ranida1902 2 ปีที่แล้ว

    สอนดีจังเลยค่ะ มาเข้าใจเรื่องปลาเพราะคลิปนี้เลย! ขอบคุณนะคะ สื่อที่ใช้สอนก็เข้าใจง่าย สวยงาม ดีมากเลยค่ะ 💕

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณ​ค้าา

  • @roadtomdcu166
    @roadtomdcu166 2 ปีที่แล้ว

    🙏🏻💞

  • @roadtomdcu166
    @roadtomdcu166 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับครู

    • @anchan__6164
      @anchan__6164 2 ปีที่แล้ว

      เช่นกันค้าา

  • @ninamotodanoy7726
    @ninamotodanoy7726 2 ปีที่แล้ว

    ขอสไลด์ได้ไหมค่ะสอนได้เข้าใจมากค่ะ