Phum Kao bin Studio
Phum Kao bin Studio
  • 136
  • 242 631
Case Study : Ep.1 มหาพีระมิดกีซ่า
รายการ Case Study เป็นการเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมที่สำคัญ ในหลากหลายพื้นที่ทั่วโลก การวางผัง คติความเชื่อ แนวความคิดในการออกแบบ รวมถึงรูปแบบสถาปัตยกรรม เนื้อหาจะเป็นการสรุปสั้น ๆ แบบกระชับ เพื่อได้ทราบถึงข้อมูลพื้นฐานของสถาปัตยกรรมนั้น ๆ เหมาะกับผู้สนใจเรื่องประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และนำไปศึกษาต่อยอดในอนาคต
มุมมอง: 1 168

วีดีโอ

"ฝรั่งครอบชฏา" อิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกในสยาม สมัยรัชกาลที 5
มุมมอง 7186 หลายเดือนก่อน
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายวันที่ 18 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
"อยุธยาคืนชีพ" ว่าด้วยเรื่องสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที 4
มุมมอง 1.6K8 หลายเดือนก่อน
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายวันที่ 11 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
สถาปัตยกรรมแบบพระราชนิยม สมัยรัชกาลที่ 3
มุมมอง 5129 หลายเดือนก่อน
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายในวันที่ 11 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม สมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงสมัยกรุงธนบุรี-ช่วงแรกสร้างกรุงเทพฯ
มุมมอง 6689 หลายเดือนก่อน
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายในวันที่ 11 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
ทดสอบระบบเสียงของโรงละครกรีกโบราณ ที่ประเทศตุรกี
มุมมอง 3319 หลายเดือนก่อน
คลิปนี้พาไปทดสอบระบบเสียงของโรงละครโบราณกรีก 2 แห่ง ที่ Ephesus Ancient city และ ที่ Acropolis of Pergamon ประเทศตุรกี ว่าด้วยเรื่องโรงละครสมัยกรีก ตอนเรียน และสอนประวัติศาสตร์ตะวันตก บริเวณจุดแสดงละคร หรือเรียกว่า Orchestra คุณครูที่สอนมักจะบอกว่า พื้นที่นี้เป็นจุดที่สามารถส่งเสียงไปได้รอบ สมัยเรียนเคยได้ฟังอาจารย์เล่าว่าขนาดเหรียญตกยังได้ยินเสียงอย่างชัดเจน มักจะพูดกับนิสิตในห้องตอนบรรยายเรื่...
พาชมภูมิศาสตร์ที่สำคัญของกรุงคอนสแตนติโนเปิล
มุมมอง 154ปีที่แล้ว
พาชมภูมิศาสตร์ที่สำคัญของกรุงคอนสแตนติโนเปิล
การเมือง ประวัติศาสตร์ และสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมอยุธยาตอนต้น
มุมมอง 2.3Kปีที่แล้ว
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสุโขทัย บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายในวันที่ 4 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
ภูมิสถาน การสร้างเมืองพระนครศรีอยุธยา
มุมมอง 1.4Kปีที่แล้ว
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสุโขทัย บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายในวันที่ 4 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
"การเมือง ประวัติศาสตร์ และสถาปัตยกรรม" พระราชวังโบราณ พระนครศรีอยุธยา
มุมมอง 3.7Kปีที่แล้ว
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสุโขทัย บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายในวันที่ 11 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
สถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย ความเชื่อมโยงของประวัติศาสตร์ การเมือง สู่การพัฒนารูปแบบสถาปัตยกรรม
มุมมอง 2.1Kปีที่แล้ว
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสุโขทัย บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายในวันที่ 11 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
สถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาตอนกลาง ความเชื่อมโยงของประวัติศาสตร์ การเมือง สู่การพัฒนารูปแบบสถาปัตยกรรม
มุมมอง 2.4Kปีที่แล้ว
การบรรยายหัวข้อ สถาปัตยกรรมสุโขทัย บรรยายโดย รศ.ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร บรรยายในวันที่ 11 ก.พ.65 ในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นปีที่ 3 สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
พาชมภายใน Hagia Sophia ศูนย์กลางของกรุงคอนสแตนติโนเปิล
มุมมอง 130ปีที่แล้ว
พาชมภายใน Hagia Sophia ศูนย์กลางศาสนาของกรุงคอนสแตนติโนเปิล หรือนครอิสตันบูล ประเทศตรุเคียในปัจจุบัน พบความอลังการของโครงสร้างโบราณ ที่เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสถาปัตยกรรมทรงโดมในสมัยหลังต่อมา
EP. 17 พาชมภาพสลักที่ไม่สมบูรณ์ บริเวณระเบียงคดด้านทิศเหนือ ที่มหาปราสาทนครวัด ตอนที่ 2
มุมมอง 825ปีที่แล้ว
ปราสาทนครวัด จะมีการก่อสร้างเป็นฐานซ้อนชั้นยกระดับ เพื่อไล่ความสูงให้เป็นขั้นบันไดตามหลักการสร้างภูเขาจำลองอันเป็นวัฒนธรรมที่สืบต่อกันมาจากชาวขอมโบราณ ตัวปราสาทจะถูกล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว และจะมีโคปุระตั้งอยู่กึ่งกลางประจำทิศเพื่อเป็นทางเชื่อมเข้าสู่ภายใน ภายในกำแพงแก้วจะถือเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ มีทางเดินชาลาเพื่อเชื่อมโยงสู่พื้นที่โคประชั้นใน ที่ปราสาทนครวัดมีการสร้างระเบียงคดล้อมรอบถึง 3 ชั้น...
EP. 16 พาชมภาพสลักกองทัพพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ที่มหาปราสาทนครวัด ตอนที่ 1
มุมมอง 2Kปีที่แล้ว
ปราสาทนครวัด จะมีการก่อสร้างเป็นฐานซ้อนชั้นยกระดับ เพื่อไล่ความสูงให้เป็นขั้นบันไดตามหลักการสร้างภูเขาจำลองอันเป็นวัฒนธรรมที่สืบต่อกันมาจากชาวขอมโบราณ ตัวปราสาทจะถูกล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว และจะมีโคปุระตั้งอยู่กึ่งกลางประจำทิศเพื่อเป็นทางเชื่อมเข้าสู่ภายใน ภายในกำแพงแก้วจะถือเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ มีทางเดินชาลาเพื่อเชื่อมโยงสู่พื้นที่โคประชั้นใน ที่ปราสาทนครวัดมีการสร้างระเบียงคดล้อมรอบถึง 3 ชั้น...
EP. 15 ภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งเมืองยโศธรปุระ พนมบาแค็ง
มุมมอง 738ปีที่แล้ว
EP. 15 ภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งเมืองยโศธรปุระ พนมบาแค็ง
EP. 14 สระอโนดาตของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่ปราสาทนาคพัน
มุมมอง 1Kปีที่แล้ว
EP. 14 สระอโนดาตของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่ปราสาทนาคพัน
EP. 13 ปราสาทบันทายสรี รัตนชาติแห่งสถาปัตยกรรมขอม
มุมมอง 2Kปีที่แล้ว
EP. 13 ปราสาทบันทายสรี รัตนชาติแห่งสถาปัตยกรรมขอม
EP. 12 ลึกลับ ซับซ้อน ภูเขาแห่งพระโพธิสัตว์ ที่ปราสาทบายน
มุมมอง 1.6Kปีที่แล้ว
EP. 12 ลึกลับ ซับซ้อน ภูเขาแห่งพระโพธิสัตว์ ที่ปราสาทบายน
สถาปัตยกรรมประเภทอาคารสมัยสุโขทัย
มุมมอง 2.1Kปีที่แล้ว
สถาปัตยกรรมประเภทอาคารสมัยสุโขทัย
สถาปัตยกรรมประเภทเจดีย์ สมัยสุโขทัย
มุมมอง 4.3Kปีที่แล้ว
สถาปัตยกรรมประเภทเจดีย์ สมัยสุโขทัย
EP.11 พระนารายณ์ทรงครุฑที่สวยที่สุดในเมืองพระนคร ที่ปราสาทกระวาน
มุมมอง 629ปีที่แล้ว
EP.11 พระนารายณ์ทรงครุฑที่สวยที่สุดในเมืองพระนคร ที่ปราสาทกระวาน
EP.10 สำรวจปราสาทที่เชื่อว่า เคยถูกรื้อโดยกองทัพสยาม ในสมัยรัชกาลที่ 4
มุมมอง 1.6Kปีที่แล้ว
EP.10 สำรวจปราสาทที่เชื่อว่า เคยถูกรื้อโดยกองทัพสยาม ในสมัยรัชกาลที่ 4
EP.9 ค้นหานางอัปสราที่สวยที่สุดในมหาปราสาทนครวัด
มุมมอง 1.2Kปีที่แล้ว
EP.9 ค้นหานางอัปสราที่สวยที่สุดในมหาปราสาทนครวัด
EP 8 ทำไม.....นครวัดหันหน้าไปทางทิศตะวันตก วิเคราะห์ทฤษฎี แนวความคิด มหาปราสาทนครวัด
มุมมอง 746ปีที่แล้ว
EP 8 ทำไม.....นครวัดหันหน้าไปทางทิศตะวันตก วิเคราะห์ทฤษฎี แนวความคิด มหาปราสาทนครวัด
บรรยากาศการรับพระราชทานรางวัลหนังสือดีเด่นปี พ.ศ. 2565 (Phum Kao bin Studio)
มุมมอง 105ปีที่แล้ว
บรรยากาศการรับพระราชทานรางวัลหนังสือดีเด่นปี พ.ศ. 2565 (Phum Kao bin Studio)
EP.7 เฝ้ารอแสงแรกของวันใหม่....ที่ มหาปราสาทนครวัด
มุมมอง 562ปีที่แล้ว
EP.7 เฝ้ารอแสงแรกของวันใหม่....ที่ มหาปราสาทนครวัด
EP.6 ศึกษาองค์ประกอบสถาปัตยกรรมขอม ที่ปราสาทธมมานนท์
มุมมอง 635ปีที่แล้ว
EP.6 ศึกษาองค์ประกอบสถาปัตยกรรมขอม ที่ปราสาทธมมานนท์
EP.5 เส้นทางแห่งชัยชนะ "ประตูชัย" เมืองนครธม
มุมมอง 357ปีที่แล้ว
EP.5 เส้นทางแห่งชัยชนะ "ประตูชัย" เมืองนครธม
EP.4 บวงสรวงนางนาค (นาค) บรรพบุรุษชาวขอมโบราณ ที่ปราสาทพิมานอากาศ
มุมมอง 2Kปีที่แล้ว
EP.4 บวงสรวงนางนาค (นาค) บรรพบุรุษชาวขอมโบราณ ที่ปราสาทพิมานอากาศ

ความคิดเห็น

  • @user-ll9qk3ic5s
    @user-ll9qk3ic5s 11 วันที่ผ่านมา

    เป็นไปได้ไหมครับว่าแต่เดิม เจดีย์มหาธาตุ เดิมคือปรางค์ 5 ยอด คล้ายๆปรางค์ 5 ยอด เพชรบุรี และเป็นศูนย์กลางเดิมของเมืองสุโขทัย ไม่ใช่วัดพระพายหลวง

  • @bnnbnn2723
    @bnnbnn2723 21 วันที่ผ่านมา

    ❤😂

  • @prajan1974
    @prajan1974 หลายเดือนก่อน

    อ่านความเจริญการสัญจรไปมาสมัยนั้นก็ทำนองนั้น

  • @PaiTravel
    @PaiTravel 2 หลายเดือนก่อน

    ดูคลิปอาจารย์แล้วนำมาสอนได้ความรู้เชิงลึกมากครับ

  • @ittipongp6357
    @ittipongp6357 2 หลายเดือนก่อน

    รบกวนอาจารย์ทำคลิปเยอะๆ ครับ ได้ฟังแล้วติดตามตลอด เป็นประโยชน์ ชอบมากครับ ละเอียดมากครับ

  • @user-pf5kd6um2t
    @user-pf5kd6um2t 2 หลายเดือนก่อน

    ส่วนตัวผมว่าอาจเกี่ยวกับการลักลอบขายรึปล่าวคับหรืออาจดูจากแต่ล่ะยุคผมสังเกตว่าส่วนใหญ่ปราสาทแถวอีสานจะมีอายุมากกว่าที่กัมพูชาอย่างปราสาทสระกำแพงใหญ่ที่สร้างในสมัยคลังผสมปาปวนยังไม่พอนางอัปสรา อีกอย่างที่ผมสันนิษฐานว่าอาจเป็นด้วยที่อายุมากเกิดคววามเสียหายจึงไม่พบนางอัปสรา

  • @user-pf5kd6um2t
    @user-pf5kd6um2t 2 หลายเดือนก่อน

    อ๋อรู้แล้วครับทำไมเขาถึงสร้างทำเป็นประตูหลอกเพื่อรับน้ำหนักนี่เองครับ❤❤❤

  • @wanpenrakcheep1792
    @wanpenrakcheep1792 2 หลายเดือนก่อน

    เสียงค่อยมากค่ะ

  • @datata3719
    @datata3719 2 หลายเดือนก่อน

    หันไปทิศพระอาทิตย์ตกเกี่ยวกับความเชื่อความตาย นครวัดคือเทวาลัยเป็นสุสานไง เคยไปสิบปีที่แล้วเดือนต.ค. ยังร้อนชื้นมากน้ำนองปริ่มถนน😂ค่าตั๋วขึ้นราคาเท่าไหร่ เดินเหนื่อย? ปราสาทหินพิมายหันหน้าไปทิศเหนือ ปราสาทหินเขาพนมรุ้งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก

  • @teerawitgamer
    @teerawitgamer 3 หลายเดือนก่อน

    ฟังเพลินมาก ๆ เลยครับอาจารย์ ได้ทั้งความรู้ ความสนุก และอีกหลาย ๆ อย่าง กราบขอบพระคุณมาก ๆ เลยนะครับอาจารย์ จะติดตามรับชมและรับฟังให้ครบทุกคลิปนะครับอาจารย์

  • @สงวนสมบัติวงค์
    @สงวนสมบัติวงค์ 3 หลายเดือนก่อน

    ฮินดู?

  • @สงวนสมบัติวงค์
    @สงวนสมบัติวงค์ 3 หลายเดือนก่อน

    วิชาการุ์ขอมุ์

  • @winwatjana9453
    @winwatjana9453 3 หลายเดือนก่อน

    ถ่ายคลิปออกมาได้ยังไงครับ เค้าห้ามถ่ายไม่ใช่หรือ

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 3 หลายเดือนก่อน

      ถ่ายได้ตามปกติครับ ไม่มีการห้ามถ่ายใดๆ

  • @โอมเชียงรายเครฟิชฟาร์ม

    ก็ต้องหันหน้ามายังผู้สร้างสิเวลาผู้สร้างเดินทางขึ้นจะได้ไม่ต้องเดินอ้อม

  • @KrungsriAyutthaya
    @KrungsriAyutthaya 4 หลายเดือนก่อน

    ปืนใหญ่โดนสุริยามรินทร์ ช่วงศึกอลองพญา ก่อนศึกเสียกรุง ๗ ปี

  • @vivotrue9663
    @vivotrue9663 4 หลายเดือนก่อน

    มหัศจรรย์มากสร้างได้อลังการ มีศิลปะฝีมือชั้นสูง คนโบราณเขาทำได้ยังไง

  • @theerayajeed
    @theerayajeed 4 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากค่ะ ทำให้เวลาไปเดินเที่ยว มีจินตนาการมากกว่าการมองซากปรักหักพัง

  • @สมชายน้อยสาคร
    @สมชายน้อยสาคร 4 หลายเดือนก่อน

    ให้เราฟังเรื่องประวัติศาสตร์จากผู้ที่เป็นนักประวัติศาสตร์...เพื่อที่เราจะได้รู้ว่า..เขารู้อะไร? สิ่งที่เขาอ้างอธิบายให้เราฟังนั้น...เป็นความจริง เป็นข้อเท็จจริง..เกิดด้วยความจริง..หรือไม่? เราก็จะสามารถรับรู้ได้จากการฟัง คิด วิเคราะห์ แยกแยะ...เองให้ได้...เราจะได้เรียนรู้จาก ความรู้ของเขา ที่มาของแหล่งความรู้ของเขาว่า...เกิดขึ้นจาก...ความจริงหรือคาดเดาเอาเอง สิ่งที่เราได้ยิน ได้รับฟังนั้น...มันเป็นความจริง...จนสามารถนำเป็นข้อสรุปให้ถูกต้องได้ไหม? ในคลิปนี้มีคำอธิบายด้วยความเชื่อหรือไม่?...สัณนิษฐานว่า...เชื่อว่า...คิดว่า....น่าจะ...ฯลฯ ความเชื่อเรียนรู้ให้ถูกต้องไม่ได้....ความเชื่อไม่ใช่ความรู้...เพราะผู้ฟังผู้เรียนรู้ไม่สามารถที่จะ เข้าใจให้ถูกต้องได้นั่นเอง...ในคำอธิบายหลายครั้งแม้แต่ตัวผู้อธิบายก็สรุปว่า....ไม่สามารถ ที่จะสรุปให้ชัดเจนได้...(เพราะความเชื่อว่า สัณนิษฐานว่า เชื่อว่า...มันไม่ใช่ความรู้..จริงเท็จไม่รู้) ดังนั้น....ต่อให้เราฟัง เราเรียนรู้ บนความเชื่อ ตามที่เขาเชื่อ..สอนอธิบายด้วยความเชื่อ... สุดท้ายเราก็จะได้ความรู้แบบเดียวกัน....คือไม่สามารถสรุปได้..(ไม่รู้ว่าความจริงคืออะไร?) ยิ่งเรียนรู้ไป ยิ่งเกิดความเชื่อ เกิดความคาดเดา คิดว่า น่าจะฯลฯ....แตกต่างกันไป...สุดท้าย ผู้อธิบายยังบอกเลยว่า..."ไม่สามารถสรุปได้ ไม่มีใครสรุปให้ชัดเจนได้"...(คำสารภาพบนความ ไม่รู้ที่จะหาข้อสรุปได้อย่างไรจากความเชื่อเหล่านั้น ของคนแต่ละคน แม้จะเชื่อเหมือนกันก็ตาม) การเรียนรู้ศาสตร์ใดๆ การเป็นผู้รู้ในศาสตร์ใดๆ...การเป็นผู้รู้ผู้ชำนาญการในศาสตร์ใดๆ... จงตระหนักเรื่องหนึ่งคือ...."ความจริง"....ถ้าไม่รู้ว่า...ความจริงคืออะไร?...การที่จะเรียนรู้ให้ถูกต้อง ในศาสตร์นั้นๆ...การจะให้ความรู้ผู้อื่นในศาสตร์นั้นๆ ย่อมไม่มีข้อสรุปชัดเจน...เพราะว่า...ความรู้ บนความเชื่อของตนของคนแต่ละคน...ขาด"ความจริงไม่รู้ความจริงคืออะไร?" คนที่ไม่รู้ว่า.."ความจริงคืออะไร?"....นั่นก็หมายความว่า...ไม่ได้เป็นผู้รู้ จัดให้เป็นผู้รู้ได้ตั้งแต่แรกแล้ว เพราะความจริงคือความรู้....ถ้าไม่รู้ความจริงคือ...ไม่มีความรู้อย่างถูกต้องตามความจริงที่สิ่งนั้นเป็น การที่ไม่รู้ความจริงคืออะไร?...คือไม่รู้ข้อเท็จจริง...เมื่อไม่รู้ความจริงย่อมคาดเดา ย่อมใช้ความเชื่อว่า น่าจะ สัณนิษฐานว่า....โดยไม่รู้ว่า....สิ่งที่ตนพวกตนสัณนิษฐานว่า คาดเดาว่า..เชื่อว่าทั้งหลายนั้น.. ถูกต้องหรือไม่?....(ขาดความจริง)....คำอธิบายจึงอาจจะถูกต้องบางส่วนหรือผิดทั้งหมดเลยก็ได้จาก การเชื่อว่า คาดว่า น่าจะ สัณนิษฐานว่า...ฯลฯ.... การไม่รู้ความจริงเรื่องเดียว...จึงต้องอธิบายด้วยความเชื่อ... ความเชื่อไม่ใช่ความรู้...คนอธิบายไม่มีความรู้ (ที่ถูกต้อง)...อธิบายโดยไม่รู้ว่า...ตน "ไม่ใช่ผู้รู้ผู้ชำนาญการ" ฝากไว้ให้คิด...เชื่อว่า อาจจะ สัณนิษฐานว่า...คิดว่า...ถ้าขาดข้อเท็จจริงอาจจะเป็นการใช้ความรู้ที่ผิดบิดเบือน การใช้ความรู้ที่ผิดบิดเบือนก็อาจจะสร้างปัญหาจากการให้ความรู้ที่ผิดได้ตลอดเวลาเช่นกันครับ.... เบื้องต้นอาจจะทำให้ผู้เรียนรู้เข้าใจผิด จนร้ายแรงสุดคือ....ชาติเสียหายจากคำอธิบายนั้น..เสียดินแดน เสียอารยะธรรม ที่เกิดจาก..."ควาไม่รู้ ของคนไม่รู้ได้"...เช่นกัน...อันตรายครับ ความเชื่ออันตรายสุดๆ ครับ

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 4 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณสำหรับข้อเสนอแนะครับ ประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่เรียนรู้ประติดประต่อ จากข้อมูลหลักฐานที่ปรากฏ การใช้คำว่าสันนิษฐาน คือการเสนอกรอบความคิดทางวิชาการที่เราจะไม่ระบุว่าสิ่งไหนใช่ สิ่งไหนจริง ประวัติศาสตร์อาจต้องใช้การวิเคราะห์จากสิ่งต่างๆ ซึ่งก็อาจจะไม่ใช่ความจริงเสมอไป ดังนั้นการเรียนประวัติศาสตร์ไม่ตำเป็นว่าต้องมีข้อสรุปว่าสิ่งใดจริง ผมพูดตามหลักฐานที่ปรากฏ ให้นักศึกษาฟังคิดตาม ไปต่อยอด เพราะเราทั้งหมดล้วนเกิดไม่ทันสิ่งผ่านมาแล้วนับพันๆ ปี ทั้งนั้น

  • @Freedom-br3cr
    @Freedom-br3cr 4 หลายเดือนก่อน

    เจอแต่หน้าคน อยากดูปราสาทคับ

  • @iaspace6737
    @iaspace6737 4 หลายเดือนก่อน

    ตามหลักฐานสรุปว่าคนอินเดียหรือคนเขมรออกแบบครับ

  • @komesathongloet8008
    @komesathongloet8008 4 หลายเดือนก่อน

    ขาวสยามมีมา ก่อนชนชาติเขมร.หลักฐาน ก็ยังบอกว่า เนี๊ยะสยามกุ๊ก จารึกคำว่าเนี๊ยะ ไว้นี่แหละ แสดงว่า ชนชาติสยามคือพวกสร้าง.นครวัด...เพราะจารึกเล่นคำแสดง ตัวเอง..เนี๊ยะสยามกุ๊ก.สยามโก๊ก..

  • @sayanpapakop2348
    @sayanpapakop2348 4 หลายเดือนก่อน

    ทำมัยนักวิชาการเขาบอกว่า สฟริ้ง มีอายุเก่ากว่าพีรามิตซะอีกคับ😅

  • @SiamMitr-kv9yf
    @SiamMitr-kv9yf 5 หลายเดือนก่อน

    ทำไมสมัยโบราณไม่บันทึกช่างสมัยอยุทธาทำไมไม่บันทึกชื่อช่างวาดภาพ ต่างประเทศมีชื่อทุกคนที่สร้าง สถาปัตยกรรม

    • @user-fi7kp6pp4q
      @user-fi7kp6pp4q 4 หลายเดือนก่อน

      บันทึกสิครับ อาณาจักรอยุธยาอยุ่มาเกือบ500ปี แต่หลักฐานหายไปหมดช่วงเสียกรุงครั้งที่2 เพราะพม่าตั้งใจปิดดอาณาจักรอยุธยาไห้หายไปจากแถบนี้ จึงได้เผาทำลายทุกอย่าง เหลือบางอย่างที่เห็นแหละ ถ้างั้นเราจะมีหลักฐานเชื่อมสมัยขอมพระนคร เราขาดหลักฐานช่สงรอยต่ออยุธยากับขอมพระนครที่สูญหายพอดีนครวัดล่มสลายทาสกบฏแล้วจู่ๆอณาจักรใกม่ก็เกิดขึ้นมาทันที จะมีหรอที่ชาวบ้านทั่วไปจะตั้งราชธานีใหม่ มีแนวการสร้างปรางค์สร้างวัดวังต่างๆ ถ้าไม่ใช่คนในอณาจักรเก่ามาสร้างใหม่ ถ้านครวัดยังอยู่ในไทยมันจะเจาะได้ลึกกว่านี้

  • @gaiamagna9156
    @gaiamagna9156 5 หลายเดือนก่อน

    เจ้า 3 พระยา = ตาอิน ตานา ตาอยู่

  • @eurekaleaves7829
    @eurekaleaves7829 5 หลายเดือนก่อน

    เสียดายภูเขาทองยอดปรางค์ของ ร.3 มากๆเลยครับ ถ้าเสร็จสมบรูณ์คงอลังการ เคียงคู่กับปรางค์วัดอรุณที่พระองค์ทรงสร้างไว้

  • @eurekaleaves7829
    @eurekaleaves7829 5 หลายเดือนก่อน

    ขอบพระคุณมากๆครับอาจารย์

  • @chuckbass3934
    @chuckbass3934 5 หลายเดือนก่อน

    จีนเป็นมหาอำนาจมาตลอดในประวัติศาสตร์โลก เพิ่งถดถอยเมื่อร้อยกว่าปีก่อน ก็ไม่แปลกที่เค้าจะกลับไปสู่ที่ๆเค้าเคยเป็นมาตลอด

  • @corncheese530
    @corncheese530 5 หลายเดือนก่อน

    ตามดูเป็น10คลิปแล้วค่ะ ชอบมาก😭😭 ว่าแต่มีศิลปะพม่าเคยลงไว้บ้างไหมคะ🙇🏻‍♀️

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 5 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากครับที่ติดตาม สถาปัตยกรรมพม่าจะลงในไม่ช้านี้นะครับ แต่จะเป็นภาพรวม ๆ ที่ไม่ลงรายละเอียดมากนักนะครับ

    • @corncheese530
      @corncheese530 5 หลายเดือนก่อน

      @@PhumKaobinStudio รอเลยค่ะ🤩🤩 ชอบทุกคลิปเลยมีประโยชน์มากจริง ๆ ค่า 🤍

  • @SiamMitr-kv9yf
    @SiamMitr-kv9yf 5 หลายเดือนก่อน

    อยากรู้เรื่องที่ฝรั่งนำเหล็กดัดมาไทยและในพม่า ไทยและพม่าทำให้ฝรั่งตกใจ เอาไม้มาดัดให้เหมือนเหล็ก ทำทางเดินบันไดทางเข้าประตู อยากรู้ทำได้อย่างไร

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 5 หลายเดือนก่อน

      ข้อมูลนี้ไม่เคยทราบเลยครับ

  • @chuckbass3934
    @chuckbass3934 6 หลายเดือนก่อน

    ตรงหน้าพระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์ เรียก สนามหน้าจักรวรรดิ ครับ ไม่ใช่ทุ่งพระเมรุ ทุ่งพระเมรุในสมัยอยุธยา คือ พื้นบริเวณทางใต้วัดพระศรีสรรเพชร ด้านหน้าวัดชีเชียง กับวัดพระมงคลบพิตรครับ

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 6 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมครับ

  • @narongpanbangred1706
    @narongpanbangred1706 6 หลายเดือนก่อน

    ผมสงสัยว่ามีนักประวัติศาสตร์บางท่านบอกว่านครปฐมไม่ใช่ทวารวดีตามบันทึกจีนแล้วเจดีย์พระโทณใช่ทวารวดีหรือเปล่าถ้าไม่ใช่คือเมืองยุคไหน

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 5 หลายเดือนก่อน

      นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ยังเชื่อว่านครปฐมเป็นเมืองทวารวดี แต่เรื่องศูนย์ศูนย์กลางคงต้องถกเถียงกันไปอีกนานครับ ในส่วนตัวก็ยังไม่เชื่อว่าทวารวดีมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองใดเมืองหนึ่ง แต่เป็นกลุ่มเมืองที่มีการรับวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามา จนพัฒนาเป็นเมือง ซึ่งก็มีหลายๆ เมือง เช่น อู่ทอง นครปฐม คูบัว ศรีเทพ เป็นต้น

  • @chaiyaphanVayachuta2496
    @chaiyaphanVayachuta2496 6 หลายเดือนก่อน

    อ้าว..ไอ้นี่..ไม่ใช่คนในพุทธศาสนา..นี่หว่า..😂😂😂

  • @pipthanit
    @pipthanit 6 หลายเดือนก่อน

    อยากไปเที่ยวเกาะแกร์ จะเดินทางไปยังไงครับ

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 5 หลายเดือนก่อน

      ตอนที่เดินไปเกือบ 15 ปี ที่แล้ว ใช้วิธีเหมารถจากเสียมเรียบไปเช้าเย็นกลับ ติดต่อหารถจากโรงแรมที่พักเลยครับ แต่ราคาค่อนข้างสูงอยู่ เพราะตอนนั้นเมืองเกาะแกร์เพิ่งเปิดให้นักท่องเที่ยวได้เข้าชม แต่ถ้าในปัจจุบันน่าจะหารถได้สะดวกขึ้นแล้วครับ

  • @user-wv1ml4mm3c
    @user-wv1ml4mm3c 7 หลายเดือนก่อน

    สมัยก่อนเขาจะสร้างสถาปัตยกรรมกัน มีการเขียนแบบเเปลน อะไรพวกนี้มั้ยคับพี่อาจาร์ ผมเห็น มีไม้ผสมในโครงสร้างด้วย

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 5 หลายเดือนก่อน

      ถ้าในยุคเก่าๆ เลย ยังไม่เคยเห็นหลักฐาน ส่วนใหญ่จะพบเป็นเจดีย์จำลอง หรือโมเดลเล็กๆ แต่ถ้าในสมัยหลังเริ่มปรากฏหลักฐานว่าต้องมีแบบแปลน จากหลักฐาน เช่น แบบแปลนพระเมรุของพระเพทราชา ถือเป็นหลักฐานสำคัญ ในส่วนมีไม้ผสมโครงสร้างเป็นเทคนิคการก่อสร้างที่ช่วยเสริมให้ผนังมีความแข็งแรงมากขึ้นครับ ในสมัยอยุธยา ถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นก็ยังพบเทคนิคการก่อสร้างแบบนี้อยู่ครับ

  • @虎瀬野
    @虎瀬野 7 หลายเดือนก่อน

    oldest "bentar gate" is in mojokerto east java...majapahit remain....gate with 3 way like in chinese...in java and bali called as "kori agung", smaller one with only one way called "angkulan", pagoda called "meru", "bale kul2" for chime and bells, place for purification before entering temple "melukat" etc...actually the components more similiar to chinese than indian...

  • @litalita5607
    @litalita5607 7 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากค่ะอาจารย์

  • @ไอรอน-ห5ง
    @ไอรอน-ห5ง 7 หลายเดือนก่อน

    เคยอ่านและดูรูปภาพสถาปัตยกรรมสมัยต่างๆสวยงามมากครับ😊😊😊😊

  • @dearfillings8869
    @dearfillings8869 8 หลายเดือนก่อน

    ทวารวดี เป็นคำในภาษามอญ แปลว่าประตูสู่แผ่นดิน หรือประตูสู่ภูมิภาค หมายถึงเมืองท่าทางการค้าชายทะเล

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 8 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมครับ

  • @สมีแจ้งฟาร์ม
    @สมีแจ้งฟาร์ม 8 หลายเดือนก่อน

    เขมรมันยอมรับความจริงไม่ได้ มันเลยลบคำว่า เสียมกุ้ก ออก

    • @Mykie890
      @Mykie890 4 หลายเดือนก่อน

      มันมีหลายจุดที่ขาดหายไป ดวยไม่รู้สาเหตุแน่ชัด แล้วก็ไม่จำเป็นต้องลบเพราะคำว่าเสียมกุกไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรกับเขมรโบราณให้กลายเป็นไทยโบราณ

    • @A-DeBoss1225
      @A-DeBoss1225 หลายเดือนก่อน

      @@Mykie89055555555 ได้ไปดูมั่งยังธรรมชาติกับมือมนุษย์ต่างกันยังงัย ง่ายกว่าจับผิดภาพกราฟฟิคอีก

  • @ZhaoYun39
    @ZhaoYun39 8 หลายเดือนก่อน

    ชอบคลิปมากๆค่ะ ได้ความรู้เชิงลึกละเอียดมาก พอดีบังเอิญเปิดมาเห็น กดติดตามไว้แล้วค่ะ

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 8 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @newchapo2028
    @newchapo2028 9 หลายเดือนก่อน

    ดีมากเลยครับ มีความเป็นกลางดี ไม่เหมือนบางช่อง ชี้ไปทางไห้รู้สึกเกลียดชังสถาบันปัจจุบันอย่างเดียวเลย ผมว่าจะราชวงค์ไหนก็สำคัญต่อบ้านเมืองทั้งนั้นแหละ อีกอย่างสถาบันคืออัตลักษ์ของชาติด้วย น่าจะรักษาไห้อยู่นานๆ ต่างชาติที่มาเที่ยวเค้าชื่นชมที่ประเทศเรารักษาสถาบันกษัตริย์ไว้ได้ วัฒนธรรม พระราชวัง วัด ที่มีไห้คนมาเที่ยว ก็เพราะบรรพกษัตริย์นี้แหละที่สร้างไว้ไห้ลูกหลานได้อวดชาวโลก

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 9 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากครับ

  • @newchapo2028
    @newchapo2028 9 หลายเดือนก่อน

    รูปแบบวัง และ วัดของสยาม แบบที่เป็นหลังคาซ้อน มีช่อฟ้า แบบเหมือนวัดหรือวังที่เราเห็นอยู่ในสมัยนี้ คงไม่ได้รับอิทธิพลมาจากขอมใช่มั้ยครับ สมัยนั้นขอมยังสร้างวัดสร้างวังด้วยหินอยูาเลย

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 9 หลายเดือนก่อน

      ในส่วนตัวคิดว่ารับอิทธิพลจากปราสาทขอมครับ แต่เรียกว่าคลี่คลายรูปแบบทางสถาปัตยกรรม จนกลายมาเป็นแบบที่เห็นในปัจจุบัน

  • @copermaneesi4016
    @copermaneesi4016 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับอาจารย์

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 9 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณเช่นกันนะครับ

  • @junijuuee
    @junijuuee 9 หลายเดือนก่อน

    บรรยายได้ดีมากเลยค่ะ ฟังเพลินมาก อยากฟังประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมอิยิปต์ด้วยค่ะ

  • @user-ro3sm3zs6c
    @user-ro3sm3zs6c 9 หลายเดือนก่อน

    เป็น รูปปลีกล้วยครับ ได้รับมาจาก อาณาจักรแถน ปลีกล้วย เป็นสัญลักษณ์ของแม่ ผู้ให้กำเนิด ใช้ในการส่งขวัญ ขึ้นสู่ฟ้า ปลีกล้วย มีความสำคัญ ในการห่มร่างกาย ในครั้งบรรพกาล ฟ้า~ผู~ผี,ผู=ผู้คน ผี=ตาย ขวัญหาย ,ป่าหิมพานต์ ก็คือ ป่าหิน ที่นายพรานเล่า จำลองมาจากน้ำตก ในกุ้ยโจว และกวางสี ติดชายแดนเวียดนาม

  • @จิระศักดิ์ทองอุ่น
    @จิระศักดิ์ทองอุ่น 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ

  • @TravelWithmie
    @TravelWithmie 10 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากค่ะอาจารย์ ได้ความรู้เยอะเลยค่ะ

  • @narisroddang3483
    @narisroddang3483 10 หลายเดือนก่อน

    ไม่ใช่อนันตนาคราชนะครับ​ เป็นมกร ซึ่งศิลปะ​นครวัด​จะต้องมีนาค​ อยู่บนหลังมกร​ด้วย​ นั่นคือวิษณุ​บรรทมเหนือนาค บนหลังมกรอีกชั้นหนึ่ง ดูรูปแบบได้ที่พนมรุ้ง​ จะเห็น​นาคชัดเจนกว่านึ้

  • @เรื่องจริงมีหนึ่งเดียว
    @เรื่องจริงมีหนึ่งเดียว 10 หลายเดือนก่อน

    ลองเรียตามนี้ครับจากปัจจุบันไปหาอดีตเมื่อ ๑๓๘๔ ปี คือ จ.ศ.๑ เริ่มจากรัตนะโกสินทร์ขั้นไปถึงเสียกรุงไม่ต้องนับเพราะยังไม่สิ้นสมัย แล้วต่อด้วยเสียกรุงไปถึงศักราช ๗๑๒ พระเจ้าอู่ทอง จากพระเจ้าอู่ทองไปถึงวรมันนครวัก ๓๕๕ จาก ๓๕๕ ขึ้นไปถึงศักราชที่ ๑ แค่นี่เองครับที่เป็นจริง ที่เกินมาจนเป็นเรื่องราวไม่มีจริง นักประวัติศาสตร์มโนไปเองว่า พ.ศ. ๑ นับมาได้ ๕๖๐ ถูกตัดไปนับหนึ่งไม่จนมาถึง ๖๒๒ ก็ตัดไปนับหนึ่งใหม่เรียก จ.ศ. ๑ ความจริงไม่มีหรอกครับว่าพ.ศ.ถูกตัดไป ๑๑๘๒ ปี มันไม่มีจริงๆ แต่นักปวศ.ไม่เชื่อ ห้วงเวลามันจึงเกินมา ๑๑๘๒ ปี พอเจอหลักฐานพระศาสนาแพร่เข้ามา ก็มโนไปว่า ราว พศต.ที่ ๑๑ พระศาสนาแพร่เข้ามายังทวารวดี ความนี้ไม่มีจริง เพราะพระศาสนาหายไป ๑๑๘๒ ปีมันจะหายไปไหน เขาเลยเอายุค คันธาร อมราวดี มาเรียงกันให้เชื่อมต่อกัน แท้จริงแล้วเที่ยวไปเอาศิลปะของกลุ่มคนต่างๆมาเรียงกัน แต่ก็ไม่เต็ม พันปีอยู่ดี แล้วทำไวต่อหรือครับ ก็ทู่ซี้เล่ามันเรื่อยเปื่อยไป คลาดเคลื่อนความจริงเช่นบันทึกจีนก็ไม่สน ก็มีแต่ไทยเราเท่านั้นแหละที่เชื่อว่า พ.ศ.มาถึงวันนี้ ๒๕๖๖ ปี คราวนี้ลองมาจับเท็จกับจริงง่ายๆกันครับว่า........... หลวงจีนฟาเหียนที่เคยรับพราหมณ์(พรหม)มาก่อนพอเจอพระวินัยพุทธที่แปลกไปจากเดิม หลวงจีนจึงเดินทางไปอินเดียเพื่อคัดลอกพระวินัย คนแปลว่าราว พ.ศ. ๙๐๐ แปลว่าพระศาสนาหายไป ๙๐๐ ปีจึงมาถึงยุคหลวงจีนฟาเหียน ผิดครับ เพราะหลวงจีนฟาเหียนเดินทางไปนาลันทาที่ยังไม่ได้สร้างพบกุฏิหกหลังเท่านั้น แปลว่าหลังพระนิพพานราวร้อยปีสมัยอาชาตศัตรู ต่อมาพระถังซำจั๋งเล็ดลอดไปอินเดียในช่วงเวลาสมัยราชวงศ์ถัง ไปถึงพบนาลันทาเจริญรุ่งเรือง ท่านไปค้นหาว่า พระถังเดินทางไปหลังหลวงจีนนานเท่าไรก็จะพบว่านาลันทาสร้างในสมัยพระเจ้าอโศก ฯ แล้วก็จะพบว่าพระเจ้าอโศกลงมาอยู่ร่วมสมัยราชวงศ์ถัง อ้างอิง ค.ศ.ว่าราว ๖๓๕ พระถ้งกลับไปยังจีนในสมัยลูกพระถังคือถังเกาจง ใครคือถังเกาจง ก็คือคนที่ได้พพระสนมจักรพรรดิถังไท่จงบูเชคเทียน ไปดูพระพุทธรูปบูเชคเทียน ต่อไปถึงยุคหลวงจีนอี้จิง ไปค้นว่าไปอินเดียตอนไหน นาลันทาจึงพินาศไปหมดแล้ว จากนั้นท่านจะรู้เราเราผิดเรื่องนับศักราชจริง ไม่มีประเทศไหนใช้ พ.ศงเพราะเขาขี้เกียจขัดคอคนไทย

    • @PhumKaobinStudio
      @PhumKaobinStudio 10 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณสำหรับข้อมูล เป็นประโยชน์อย่างมากครับ

  • @lucia91l
    @lucia91l 10 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณค่ะ