อ.อาทร ครูพันทาง
อ.อาทร ครูพันทาง
  • 262
  • 385 180
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องคานประกอบ
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องคานประกอบ
มุมมอง: 400

วีดีโอ

วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องความเค้นเฉือนในคาน
มุมมอง 385หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องความเค้นเฉือนในคาน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องการโก่งเดาะของเสาและเกณฑ์การวิบัติ
มุมมอง 207หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องการโก่งเดาะของเสาและเกณฑ์การวิบัติ
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องคานเชิงประกอบ
มุมมอง 268หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องคานเชิงประกอบ
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องความเค้นผสมภายใต้แรงตามแนวแกนและแรงดัดรวมกันของคาน
มุมมอง 235หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องความเค้นผสมภายใต้แรงตามแนวแกนและแรงดัดรวมกันของคาน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องวงกลมของโมร์
มุมมอง 249หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องวงกลมของโมร์
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Centroid ของพื้นที่และโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ ตอนที่ 1/2
มุมมอง 97หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Centroid ของพื้นที่และโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ ตอนที่ 1/2
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องทฤษฎี Pappus และ Guldinus
มุมมอง 204หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องทฤษฎี Pappus และ Guldinus
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Centroid ของปริมาตรและของมวล
มุมมอง 208หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Centroid ของปริมาตรและของมวล
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องโครงสร้างที่มี Internal Hinge เป็นส่วนประกอบ
มุมมอง 208หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องโครงสร้างที่มี Internal Hinge เป็นส่วนประกอบ
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Centroid ของเส้น
มุมมอง 220หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Centroid ของเส้น
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องความเสียดทาน
มุมมอง 227หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องความเสียดทาน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Centroid ของพื้นที่และโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ ตอนที่ 2/2
มุมมอง 113หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Centroid ของพื้นที่และโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ ตอนที่ 2/2
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่อง SFD, BMD โดยการเขียนสมการ แต่ละช่วงคาน
มุมมอง 338หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่อง SFD, BMD โดยการเขียนสมการ แต่ละช่วงคาน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องแผนภาพแรงเฉือน SFD และแผนภาพโมเมนต์ดัด BMD
มุมมอง 411หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องแผนภาพแรงเฉือน SFD และแผนภาพโมเมนต์ดัด BMD
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องความเค้นดัดในคาน
มุมมอง 365หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างเรื่องความเค้นดัดในคาน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องแรงภายใต้ของไหลที่หยุดนิ่ง
มุมมอง 198หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องแรงภายใต้ของไหลที่หยุดนิ่ง
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Three Hinge Arch
มุมมอง 169หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่อง Three Hinge Arch
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องเคเบิลรับแรงแบบจุด
มุมมอง 277หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องเคเบิลรับแรงแบบจุด
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องแรงกระจาย
มุมมอง 279หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องแรงกระจาย
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องเคเบิลรับแรงแบบกระจายสม่ำเสมอ
มุมมอง 186หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องเคเบิลรับแรงแบบกระจายสม่ำเสมอ
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องรอก
มุมมอง 230หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างเรื่องรอก
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างโครงสร้างแบบอินดีเทอร์มิเนท กรณีโครงสร้างเชิงประกอบขนานกัน
มุมมอง 286หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างโครงสร้างแบบอินดีเทอร์มิเนท กรณีโครงสร้างเชิงประกอบขนานกัน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างโครงสร้างแบบอินดีเทอร์มิเนท กรณีโครงสร้างวัตถุแขวน
มุมมอง 252หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างโครงสร้างแบบอินดีเทอร์มิเนท กรณีโครงสร้างวัตถุแขวน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างโครงสร้างแบบอินดีเทอร์มิเนท กรณีโครงสร้างเชิงประกอบอนุกรม
มุมมอง 243หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างโครงสร้างแบบอินดีเทอร์มิเนท กรณีโครงสร้างเชิงประกอบอนุกรม
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่าง method of joints และ method of sections ตอนที่1/2
มุมมอง 124หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่าง method of joints และ method of sections ตอนที่1/2
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเนื่องจากอุณหภูมิ
มุมมอง 356หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเนื่องจากอุณหภูมิ
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างโครงกรอบและเครื่องมือกล
มุมมอง 184หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่างโครงกรอบและเครื่องมือกล
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่าง method of joints และ method of sections ตอนที่ 2/2
มุมมอง 106หลายเดือนก่อน
วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ตัวอย่าง method of joints และ method of sections ตอนที่ 2/2
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างการบิดของเพลา
มุมมอง 236หลายเดือนก่อน
วิชาความแข็งแรงของวัสดุ ตัวอย่างการบิดของเพลา

ความคิดเห็น

  • @user-bs1zk7fz6n
    @user-bs1zk7fz6n 8 วันที่ผ่านมา

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @user-bs1zk7fz6n
    @user-bs1zk7fz6n 8 วันที่ผ่านมา

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @user-bs1zk7fz6n
    @user-bs1zk7fz6n 8 วันที่ผ่านมา

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @ishowslowly3869
    @ishowslowly3869 19 วันที่ผ่านมา

    สอนได้ยอดเยี่ยมครับ

  • @ishowslowly3869
    @ishowslowly3869 19 วันที่ผ่านมา

    ยอดเยี่ยม

  • @user-xd9wt1cp6m
    @user-xd9wt1cp6m หลายเดือนก่อน

    ตอนแทนค่าในสมการ หาค่าน้ำหนักบรรทุกวิกฤต ; Pcr ตรงตัวหาร ค่า (KL) ต้องยกกำลังสอง ด้วยนะครับ อย่าลืมโดยเด้ดขาด ผมพลาดหลงลืมเขียนยกกำลังสอง

  • @user-xd9wt1cp6m
    @user-xd9wt1cp6m หลายเดือนก่อน

    อย่าลืมสรุปตรงคำตอบด้วยนะครับ ว่า หน่วยแรงตั้งฉากของแท่งเหล็กทั้ง 3 แท่ง เป็นความเค้นดึง นะครับ (ลืมเขียนสรุปท้ายคำตอบให้)

  • @user-th1rz2nl2v
    @user-th1rz2nl2v 2 หลายเดือนก่อน

    นอมอร์ สแตส คือ ความเค้นตามแนวแกน ,ความเค้นดัด แล้ว ตัว ระนาบสแตส คือเค้นเฉือน ที่เกิดจากแรงบิด อย่างเดียวใช่ไหมครับ ถ้าไม่มีการบิดในชิ้นวัตถุ ก็จะไม่มี ทอร์ เมื่อไม่มีทอร์ ก็ไม่ต้องมีอีลิเมนท์ หาความเค้นประสม ใช่รึป่าวครับ

  • @user-th1rz2nl2v
    @user-th1rz2nl2v 2 หลายเดือนก่อน

    ตัว ทอร์ (ความเค้นเฉือน) จะมีค่า เท่ากันทั้งทวนเข็มและตามเข็ม ไหมครับ เช่นข้อนี้ ทอร์ คือ 60 Mpa ก็จะเท่ากันทั้งสองฝั่ง

  • @KITSANAPATA
    @KITSANAPATA 2 หลายเดือนก่อน

    ์​+,

  • @monseigneur6365
    @monseigneur6365 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ เป็นประโยชน์มาก

  • @user-zg7oz1gw4p
    @user-zg7oz1gw4p 3 หลายเดือนก่อน

    Truss

  • @sis4253
    @sis4253 4 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณ​มาก​ครับ​

  • @wissanuphongporlila6982
    @wissanuphongporlila6982 4 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ

  • @joycokepeephom3333
    @joycokepeephom3333 4 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ

  • @narin-go
    @narin-go 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ

  • @narin-go
    @narin-go 6 หลายเดือนก่อน

  • @narin-go
    @narin-go 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ หาดูมานานพึ่งเจอ

  • @tippongsaeng1764
    @tippongsaeng1764 6 หลายเดือนก่อน

    ข้อมูลดีมากค่ะ

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 6 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากครับ สำหรับการติดตาม สุขภาพร่างกายแข็งแรงครับ

  • @tippongsaeng1764
    @tippongsaeng1764 6 หลายเดือนก่อน

    👍👍👍

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 6 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ ใฝ่หาความรู้ น่าชื่นชมครับ

  • @user-xd9wt1cp6m
    @user-xd9wt1cp6m 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบพระคุณเป็นอย่างสูง สำหรับการติดตาม

  • @tippongsaeng1764
    @tippongsaeng1764 6 หลายเดือนก่อน

    ดีมากเลยค่ะ

  • @narin-go
    @narin-go 6 หลายเดือนก่อน

  • @Gooooooooooooo65
    @Gooooooooooooo65 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @Gooooooooooooo65
    @Gooooooooooooo65 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ ❤❤❤

  • @Gooooooooooooo65
    @Gooooooooooooo65 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ ❤❤❤

  • @tippongsaeng1764
    @tippongsaeng1764 6 หลายเดือนก่อน

    ดีมากๆเลยค่า

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 6 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ แต่คุณต้องดู EP. 1/2 ก่อน นะครับ

  • @yongg123Y
    @yongg123Y 7 หลายเดือนก่อน

    มันต้องเป็น 3.14*(0.36^4)/32 ถึงจะได้ค่าตามอาจารย์ ผมกดเครื่องคิดเลขตั้ง นานนนนนนนนนน ก็ออกมาไม่ตรง

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 7 หลายเดือนก่อน

      โมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกนโพลาร์ของเพลาหน้าตัดกลมตัน ผมเขียนสูตรกับแทนค่าพลาด จากยกกำลัง 2 ต้องแก้ไข เป็นยกกำลัง 4 นะครับ แต่คำตอบตัวเลขที่ได้ ถูกแล้วครับ ขอบคุณมากสำหรับการติชม

    • @yongg123Y
      @yongg123Y 6 หลายเดือนก่อน

      🙏🙏🙏🙏🙏@@user-xd9wt1cp6m

  • @numbers1450
    @numbers1450 7 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์สอนดีมากคับ

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 7 หลายเดือนก่อน

      เราก็ต้องเรียนดีด้วย การเรียนรู้ที่ดีที่สุดการใฝ่รู้ด้วยตนเอง

  • @numbers1450
    @numbers1450 7 หลายเดือนก่อน

    Fcคับ

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 7 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ จงพยายาม เพราะความพยายามไม่เคยทรยศใคร

  • @user-eg2tq8uh2b
    @user-eg2tq8uh2b 7 หลายเดือนก่อน

    เครื่องทำความร้อนหาซื้อได้ที่ไหนครับพอดีจะทำโครงงานจุดวาบไฟครับ

  • @user-wf3od1tq5h
    @user-wf3od1tq5h 7 หลายเดือนก่อน

    สวัสดี​ครับ​ ขออนุญาต​สอบถาม​ครับอาจารย์​ ไม่ทราบว่าอาจารย์​ใช้หนังสือเล่มไหนสอนครับ​

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 7 หลายเดือนก่อน

      สวัสดีครับ ถ้าหัวข้อนี้ ใช้หนังสือเทคโนโลยีแอสฟัลท์ ของ ท่าน ร.ศ.ดร.ณรงค์ กุหลาบ (อาจารย์ผมเองครับ)

  • @thatrip4737
    @thatrip4737 8 หลายเดือนก่อน

    ( 1:00:44 / 1:57:34 ) ตามตัวอย่าง 5.7 โจทย์ต้องการ 1. หาขนาดหน้าตัดเหล็ก ( wide flange beam : WF ) ที่เล็กที่สุด 2. หาความเค้นดัด(สูงสุด) ที่เกิดขึ้น(จริง) จากหน้าตัด wide flange beam ที่คำนวณได้จากข้อที่ 1. เมื่อคำนวณตามข้อที่ 1. ได้หน้าตัดคาน ( wide flange beam ) WF = W310•107 จากนั้นทำการคำนวณหาค่าโมเมนต์ดัด(สูงสุด) ที่เกิดขึ้นบนคาน WF = W310•107 ได้ค่าโมเมนต์ดัด(สูงสุด) M(max) ที่หาได้จาก bending moment diagram : BMD M(max) = +188.4 kN•m ( เกิดขึ้นที่กึ่งกลางคาน ) เมื่อ ! M(max) ที่หาได้ จาก BMD เป็นค่า " บวก " จะทำให้คานเกิดการ โก่งตัวลง แบบ " คานยิ้ม " ผิวคาน " บน " เกิดการอัด ผิวคาน " ล่าง " เกิดการดึง คำถาม ? 1. กรณีเมื่อ ! M(max) ที่หาได้ จาก BMD เป็นค่า " บวก " M(max) = +188.4 kN•m " ก็จะเป็นเพียง " การบอกให้เราทราบว่า ! " คาน " W310•107 จะเกิดการ โก่งตัวลง แบบ " คานยิ้ม " ผิวคาน " บน " เกิดการอัด ผิวคาน " ล่าง " เกิดการดึง เมื่อแทนค่า M(max) = +188.4 kN•m ในสมการ Stress(max) = M(max)•c / I ก็จะเกิด ความเค้น(Stress max) ที่ผิวบน = - 118.19 MPa ที่ผิวล่าง = + 118.19 MPa ถูกต้อง หรือ ไม่ ? " ครับ " 2 . แต่เมื่อ ! M(max) ที่หาได้ จาก BMD เป็นค่า " ลบ " M(max) = -188.4 kN•m ( โดยเรา " สมมุติ " ให้ "เวกเตอร์ " ของแรงที่กระทำกับ " คาน " ทั้งหมด มีทิศทาง " ชี้ขึ้น " และ free body diagram ของระบบโครงสร้างนี้ ! มี support รองรับ ) " ก็จะเป็นเพียง " การบอกให้เราทราบว่า ! " คาน " W310•107 จะเกิดการ โก่งตัวขึ้น แบบ " คานบึ้ง " ผิวคาน " บน " เกิดการดึง ผิวคาน " ล่าง " เกิดการอัด เมื่อแทนค่า M(max) = -188.4 kN•m ในสมการ Stress(max) = M(max)•c / I ก็จะเกิด ความเค้น(Stress max) ที่ผิวบน = + 118.19 MPa ที่ผิวล่าง = - 118.19 MPa ถูกต้อง หรือ ไม่ ? " ครับ " ขอบคุณ ครับ !

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 8 หลายเดือนก่อน

      เข้าใจถูกต้องแล้วครับ

    • @thatrip4737
      @thatrip4737 8 หลายเดือนก่อน

      @@user-xd9wt1cp6m “ ขอบพระคุณ “ ครับผม !

  • @skszainwsangkasee1996
    @skszainwsangkasee1996 8 หลายเดือนก่อน

    เข้าใจครับอาจารย์ แต่รู้สึกเหมือนโดนดุเลย เวลาเรียนไปด้วย ทำอย่างอื่นไปด้วย 😅

  • @user-xd9wt1cp6m
    @user-xd9wt1cp6m 8 หลายเดือนก่อน

    การคำนวณหาค่า Iy (เวลาที่ประมาณนาที 35 ) ที่เฉลยวิธีคิดไว้ แก้ไขนะครับ เขียนตัวเลขผิด ระยะย้ายแกน d จากตัวเลข 11.52 mm ให้แก้ไขเป็น 2.92 mm และจากตัวเลข 0.08 mm ให้แก้ไขเป็น 8.08 mm ส่วนตัวเลขคำตอบที่ได้จากการกดเครื่องคิดเลข ถูกต้องทั้งหมดแล้วครับ

  • @jojojojoyiyo4096
    @jojojojoyiyo4096 8 หลายเดือนก่อน

    มีวิธีการกำหนดช่องจราจรให้สอดคล้องกับปริมาณจราจรไหมครับ

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 8 หลายเดือนก่อน

      เกี่ยวข้องกับการกำหนดระดับการให้บริการ (level of service) และความสัมพันธ์ ของ v/c ratio อาจศึกษาเป็นพื้นฐานวิธีการกำหนดช่องจราจร ได้จากเนื้อหา เรื่องทฤษฎีกระแสจราจรและระดับการให้บริการของถนน (เวลาที่ 1.37)

  • @arnonsatsuwan2818
    @arnonsatsuwan2818 8 หลายเดือนก่อน

    วิธีดูแบบว่าตรงไหนมีท่อครอสดูยังไงครับ

  • @nvsealthai3832
    @nvsealthai3832 8 หลายเดือนก่อน

    อ.ครับสอบถามครับ ในส่วนของM นาที ที่ 46.25 ย้ายฝั่ง10xเดิมติดบวกย้ายมาแลัวยังติดบวกหรือครับอ. สอบถามด้วยความไม่รู้ครับ

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 8 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากครับ ผมเขียนเครื่องหมายผิด หลงไปหน่อยครับ ต้องขอโทษด้วย ย้ายไปกลับเครื่องหมายเป็นลบ แต่ตอนแทนค่าหาโมเมนต์ (ใช้ -) คำตอบที่แสดงถูกต้องแล้วนะครับ

    • @nvsealthai3832
      @nvsealthai3832 8 หลายเดือนก่อน

      @@user-xd9wt1cp6m ครับผม ขอบคุณครับ

  • @nvsealthai3832
    @nvsealthai3832 8 หลายเดือนก่อน

    อ.ครับในส่วนของยูนิฟอร์มโหลดเราสามารถแปลงเป็นพ้อยโหลดก่อนแล้วค่อยมาคำนวณได้ไหมครับ

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 8 หลายเดือนก่อน

      ได้ครับ แต่ควรเขียนคำนวณยาวๆ ไปเลย น่าจะสะดวกรวดเร็วกว่า

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 8 หลายเดือนก่อน

      และถ้าแปลงเป็น point load จะส่งผลต่อการเขียนรูป SFD และ BMD ทำให้ไม่ถูกต้องได้ ต้องระมัดระวังด้วยครับ

    • @nvsealthai3832
      @nvsealthai3832 8 หลายเดือนก่อน

      ขอบพระคุณอ.ครับ สำหรับข้อมูลครับ

  • @nvsealthai3832
    @nvsealthai3832 8 หลายเดือนก่อน

    ขอบพระคุณอ.ครับที่ทำคลิปที่มีค่าแบบนี้ไว้ให้คนรุ่นหลังไว้ศึกษาครับ

  • @nvsealthai3832
    @nvsealthai3832 8 หลายเดือนก่อน

    และคลิปนี้จะเป็นสมบัติที่มีค่าให้คนรุ่นหลังจริงๆครับ อ.ทำคลิปมาเยอะๆนะครับ

  • @maw-thaiban
    @maw-thaiban 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณสำหรับคลิปการสอนที่ทำให้ได้กลับมาศึกษาความรู้อีกครั้งครับ

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m 9 หลายเดือนก่อน

      สบายดี เม่า สู้ชีวิตต่อไป

    • @maw-thaiban
      @maw-thaiban 9 หลายเดือนก่อน

      @@user-xd9wt1cp6m สบายดีครับอาจารย์ ตอนนี้ก็บรรจุเป็นนายช่างสำรวจของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินแล้ว พอมาทำงานก็เลยยิ่งทำให้คิดว่าทำไมเมื่อก่อนไม่ตั้งใจเรียนให้จบ😁😁

  • @phatworawituthaisattawat7795
    @phatworawituthaisattawat7795 10 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์ มี paper ให้ load หรือเป่าครับ

  • @dr.attphayomhom8565
    @dr.attphayomhom8565 10 หลายเดือนก่อน

    สวัสดีครับ จะสามารถขอ lecture ท่านอาจารย์ได้ไหมครับ

  • @user-vx4ii1hf1j
    @user-vx4ii1hf1j 10 หลายเดือนก่อน

    อาจารสอนดีมากคับ มีขอคิดดีๆ

  • @Nelly0104
    @Nelly0104 11 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณค่ะอาจารย์🙏🏻🙏🏻🙏🏻

  • @blackyship
    @blackyship ปีที่แล้ว

    วิดีโอนี้มีประโยชน์มากครับผม

  • @hattakarnh.4524
    @hattakarnh.4524 ปีที่แล้ว

    ไม่ทราบว่ากราฟตัวนี้ หาได้จากหนังสือไหนบ้างคะ

    • @user-xd9wt1cp6m
      @user-xd9wt1cp6m ปีที่แล้ว

      จากหนังสือ แนววิศวกรรมขนส่ง ทั่วไป ครับ

  • @anonchanmeun378
    @anonchanmeun378 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @user-ji5zn3bn9l
    @user-ji5zn3bn9l ปีที่แล้ว

    ขอบคุณอาจารย์มากครับ