- 6
- 132 633
Kritsana saisunee
เข้าร่วมเมื่อ 15 ส.ค. 2015
กลมคนัง
ผู้วิจัย : อ.กฤษณะ สายสุนีย์
ผู้วิจัยร่วม : รศ.ดร.ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์
อ.ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เสาวณิต วิงวอน
อ.ที่ปรึกษาร่วม : ผศ.ดร.จุลชาติ อรัณยะนาค
ผู้แสดง : อ.ญาณวุฒิ ไตรสุวรรณ
ดนตรีและเพลงร้อง : นายภวัต จันดารักษ์
ดูแลเครื่องแต่งกาย : นายจารุวิทย์ เวชกุล และนายสมมารถ หอมกลิ่น
แต่งหน้า ทำผม : บ้านแม่ละเมียด นครศรีธรรมราช
สถานที่ถ่ายทำ : หมู่บ้านคีรีวง จ.นครศรีธรรมราช
แนวคิดในการสร้างสรรค์งาน
บทละครเรื่องเงาะป่า พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นวรรณกรรมที่ทรงนำเรื่องราวของชาวเงาะป่ามาสร้างสรรค์สำหรับเป็นบทขับร้อง โดยในตอนต้นทรงพรรณนาเกี่ยวกับคนังเด็กชายชาวเงาะป่าจะเดินทางไปหาไม้ไผ่เพื่อนรักของตน สิ่งหนึ่งที่เป็นจุดสนใจคือการนำเพลงหน้าพาทย์กลมมาใช้กับคนังในตอนนี้ด้วย จากข้อมูลดังกล่าวจึงเป็นแนวคิดในการสร้างสรรค์การแสดงชุดนี้
รูปแบบหรือขั้นตอนในการแสดง
การแสดงชุด “กลมคนัง” นำเสนอในรูปแบบการแสดงละครรำ โดยนำแบบอย่างการแสดงละครรำ เรื่องเงาะป่า ที่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และกรมศิลปากรจัดแสดงในปัจจุบันมาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ นำเรื่องราวจากบทพระราชนิพนธ์ เรื่องเงาะป่า ในตอนต้นของเรื่องนั้นที่พรรณนาถึงคนังเด็กชายชาวเงาะป่าที่ต้องการที่จะเดินทางไปพบไม้ไผ่เพื่อนรักของตน เพื่อชวนกันไปเที่ยวเล่นในป่า ซึ่งมีขั้นตอนในการแสดง ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เปิดตัวผู้แสดง ด้วยการรำออกสู่เวทีด้วยเพลงเสมอ
ขั้นตอนที่ 2 พรรณนาเกี่ยวกับตัวละครว่าเป็นใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร
ขั้นตอนที่ 3 การรำเพลงหน้าพาทย์กลม
องค์ประกอบในการแสดง
- ผู้แสดง จำนวน 1 คน เป็นผู้ที่มีความรู้และมีประสบการณ์การแสดงนาฏศิลป์ไทย สาขาโขนพระ โขนยักษ์ หรือโขนลิง อย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่น้อยกว่า 5 ปี เพื่อให้ได้นักแสดงที่มีพื้นฐานความรู้ทางด้านนาฏศิลป์ไทย
- เครื่องแต่งกาย ผู้แสดงใส่ผ้านุ่งสีเขียว เพื่อสื่อความหมายของการนำใบไม้มานุ่งห่ม และสวมใส่เครื่องประดับที่ทำมาจากลูกไม้และหินสี สวมใส่ดอกไม้ทัดหูด้านขวา ใช้วิธีการนุ่งผ้าตามรูปแบบที่คุณครูลมุล ยมะคุปต์ ถ่ายทอดให้กับวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ในการแสดงละครรำเรื่องเงาะป่า
- เพลงหรือดนตรี เพลงร้องและทำนองเพลงในการแสดงชุดนี้นำมาจากบทละครเรื่องเงาะป่า โดยยังคงมีเพลงเดิมที่บรรจุอยู่ในเรื่อง ได้แก่ เพลงช้าปี่ เพลงปีนตลิ่งนอก เพลงร่าย และเพลงหน้าพาทย์กลม ทั้งนี้มีการบรรจุทำนองเพลงสาลิกาเขมรเพิ่มเข้าไป ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง แต่เพิ่มเครื่องดนตรีประเภทเคาะที่ทำมาจากไม้ไผ่
- อุปกรณ์ ผู้แสดงถือไม้ไผ่ ความยาวประมาณ 1.20 เมตร เพื่อสื่อความหมายถึงบอเลาของชาวเงาะป่า นอกจากนี้ยังใช้แคร่ไม้ไผ่ สื่อถึงที่พักอาศัยของชาวเงาะป่าที่เรียกว่า “ทับ”
ผู้วิจัยร่วม : รศ.ดร.ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์
อ.ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เสาวณิต วิงวอน
อ.ที่ปรึกษาร่วม : ผศ.ดร.จุลชาติ อรัณยะนาค
ผู้แสดง : อ.ญาณวุฒิ ไตรสุวรรณ
ดนตรีและเพลงร้อง : นายภวัต จันดารักษ์
ดูแลเครื่องแต่งกาย : นายจารุวิทย์ เวชกุล และนายสมมารถ หอมกลิ่น
แต่งหน้า ทำผม : บ้านแม่ละเมียด นครศรีธรรมราช
สถานที่ถ่ายทำ : หมู่บ้านคีรีวง จ.นครศรีธรรมราช
แนวคิดในการสร้างสรรค์งาน
บทละครเรื่องเงาะป่า พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นวรรณกรรมที่ทรงนำเรื่องราวของชาวเงาะป่ามาสร้างสรรค์สำหรับเป็นบทขับร้อง โดยในตอนต้นทรงพรรณนาเกี่ยวกับคนังเด็กชายชาวเงาะป่าจะเดินทางไปหาไม้ไผ่เพื่อนรักของตน สิ่งหนึ่งที่เป็นจุดสนใจคือการนำเพลงหน้าพาทย์กลมมาใช้กับคนังในตอนนี้ด้วย จากข้อมูลดังกล่าวจึงเป็นแนวคิดในการสร้างสรรค์การแสดงชุดนี้
รูปแบบหรือขั้นตอนในการแสดง
การแสดงชุด “กลมคนัง” นำเสนอในรูปแบบการแสดงละครรำ โดยนำแบบอย่างการแสดงละครรำ เรื่องเงาะป่า ที่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และกรมศิลปากรจัดแสดงในปัจจุบันมาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ นำเรื่องราวจากบทพระราชนิพนธ์ เรื่องเงาะป่า ในตอนต้นของเรื่องนั้นที่พรรณนาถึงคนังเด็กชายชาวเงาะป่าที่ต้องการที่จะเดินทางไปพบไม้ไผ่เพื่อนรักของตน เพื่อชวนกันไปเที่ยวเล่นในป่า ซึ่งมีขั้นตอนในการแสดง ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เปิดตัวผู้แสดง ด้วยการรำออกสู่เวทีด้วยเพลงเสมอ
ขั้นตอนที่ 2 พรรณนาเกี่ยวกับตัวละครว่าเป็นใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร
ขั้นตอนที่ 3 การรำเพลงหน้าพาทย์กลม
องค์ประกอบในการแสดง
- ผู้แสดง จำนวน 1 คน เป็นผู้ที่มีความรู้และมีประสบการณ์การแสดงนาฏศิลป์ไทย สาขาโขนพระ โขนยักษ์ หรือโขนลิง อย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่น้อยกว่า 5 ปี เพื่อให้ได้นักแสดงที่มีพื้นฐานความรู้ทางด้านนาฏศิลป์ไทย
- เครื่องแต่งกาย ผู้แสดงใส่ผ้านุ่งสีเขียว เพื่อสื่อความหมายของการนำใบไม้มานุ่งห่ม และสวมใส่เครื่องประดับที่ทำมาจากลูกไม้และหินสี สวมใส่ดอกไม้ทัดหูด้านขวา ใช้วิธีการนุ่งผ้าตามรูปแบบที่คุณครูลมุล ยมะคุปต์ ถ่ายทอดให้กับวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ในการแสดงละครรำเรื่องเงาะป่า
- เพลงหรือดนตรี เพลงร้องและทำนองเพลงในการแสดงชุดนี้นำมาจากบทละครเรื่องเงาะป่า โดยยังคงมีเพลงเดิมที่บรรจุอยู่ในเรื่อง ได้แก่ เพลงช้าปี่ เพลงปีนตลิ่งนอก เพลงร่าย และเพลงหน้าพาทย์กลม ทั้งนี้มีการบรรจุทำนองเพลงสาลิกาเขมรเพิ่มเข้าไป ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง แต่เพิ่มเครื่องดนตรีประเภทเคาะที่ทำมาจากไม้ไผ่
- อุปกรณ์ ผู้แสดงถือไม้ไผ่ ความยาวประมาณ 1.20 เมตร เพื่อสื่อความหมายถึงบอเลาของชาวเงาะป่า นอกจากนี้ยังใช้แคร่ไม้ไผ่ สื่อถึงที่พักอาศัยของชาวเงาะป่าที่เรียกว่า “ทับ”
มุมมอง: 413
วีดีโอ
ลงสรงนาฏดนตรี
มุมมอง 140ปีที่แล้ว
ลงสรงนาฏดนตรี : นาฏศิลป์สร้างสรรค์การรำลงสรงจากละครรำสู่ลิเก มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์การแสดงชุดลงสรงนาฏดนตรี ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ โดยเนื้อเรื่องนำมาจากวรรณกรรมเรื่องพระอภัยมณี ตอนศึกเก้าทัพตีเมืองผลึก ออกแบบกระบวนท่ารำให้พระอภัยมณีรำลงสรงทรงเครื่องก่อนออกไปรบกับทัพทั้งเก้าของฝ่ายลังกา รูปแบบการแสดงเป็นลิเกทรงเครื่อง บทร้องบรรยายถึงเครื่องแต่งกายตามแบบอย่างลิเกทรงเครื่อง ขั้นตอนใน...
ลงสรงนาฏดนตรี
มุมมอง 1.1Kปีที่แล้ว
การวิจัยสร้างสรรค์เรื่อง ลงสรงนาฏดนตรี : นาฏศิลป์สร้างสรรค์การรำลงสรงจากละครรำสู่ลิเก มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์การแสดงชุดลงสรงนาฏดนตรี ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ มีแนวคิดมาจากวรรณกรรมเรื่องพระอภัยมณี ตอนศึกเก้าทัพตีเมืองผลึก ออกแบบกระบวนท่ารำให้พระอภัยมณีรำลงสรงทรงเครื่องก่อนออกไปรบกับทัพทั้งเก้าของฝ่ายลังกา รูปแบบการแสดงเป็นลิเกทรงเครื่อง บทร้องบรรยายถึงเครื่องแต่งกายตามแบบอย่างลิเกทรง...
รำวงใต้เกี้ยว
มุมมอง 42K2 ปีที่แล้ว
การสร้างสรรค์การแสดงชุด “รำวงใต้เกี้ยว” ของวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช มีแรงบันดาลใจและแนวคิดมาจากการเต้นรองเง็งของชาวภาคใต้ อันนำไปสู่การศึกษารูปแบบการเต้นรองเง็ง และองค์ประกอบของการเต้นรองเง็ง อีกทั้งรูปแบบการรำวง ด้วยการประยุกต์จากนาฏยจารีตเดิม โดยนำเพียงเอกลักษณ์หรือลักษณะเด่นของท่าทางการเต้นรองเง็ง เช่น การก้าวเท้า การแตะเท้า การโยกตัว การโอนตัว การย่อตัว เป็นต้น ผสมผสานกับการรำวงที่ผู้เต...
ละครรำเรื่อง กาตยานี
มุมมอง 89K3 ปีที่แล้ว
ละครรำเรื่อง กาตยานี เป็นผลงานวิจัยของ นายกฤษณะ สายสุนีย์ อาจารย์ วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โดยได้รับทุนสนับสนุนจาก สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เนื้อเรื่องสื่อถึงการอวตารของพระอุมาเป็นเทพีกาตยานีเพื่อลงมาปราบมหิงษาสูร ด้วยการผสมผสานรูปแบบการแสดง 3 ประเภท คือ การรำถวายมือ (เบิกโรง) ด้วยผู้แสดงฝ่ายพระและนางอย่างละครชาตรี การร่ายรำอวดฝีมืออย่างละครนอกแบบหลวงและละครใน การดำเนินเร...
19:50 คล้ายทำนองสร้อยสนตัดใช่ไหมครับ
ช่วงพระพรหมรำใช่ไหมครับเพลงแปดบทครับ
เพลงเพราะมากค่ะะ
อยากดูละครรำเรื่องใหม่ของปีนี้(2567)แล้วซี ปีที่แล้วมีเรื่องสุริโยทัย ไม่ค่อยถูกใจเท่าไหร่ยังขาดๆเกินๆ เข้าใจว่าทำครั้งแรก
เนื้อร้องมันร้องว่าอะไรอ่ะคะ บางคำฟังไม่ค่อยชัดเลย อยากรู้ความหมาย
เพลงสร้อยระกำ มาพบโฉมตรู จุ๊กกรูบ้านน้องอยู่ไหน บังจีบได้มั๊ย อยากได้น้องมาเป็นแฟน (ญ. น้องอยู่ตานี พื้นที่ด้ามขวานไทยแลนด์) บังขอควงแขน เป็นแฟนไปเที่ยวกันหม้าย (ญ. เที่ยวที่ไหนหนา) ยะลาบ้านบัง (ญ. น้องอยากไปจัง) เดี๋ยวบังจะคอยดูแล เชื่อใจได้หม้าย ผู้ชายเจ้าชู้จริงๆ ฟันแล้วก็ทิ้ง กลอกกลิ้ง ถ้าจริงอย่าแถ (ช. บังไม่ใช่เสือ ถ้าไม่เชื่อ คอยแล) (ญ. กลัวใจเป็นแผล รักแท้แค่วันเดียว) (ช. เชื่อต๊ะ เชื่อต้า) (ญ. บังอย่า กดดัน) มาจับมือกัน รักเราชั่วนิรันดร เพลงยาโฮง บุหงาตันหยง หยงไหรเด้น้อง ชูดอกมะรุม (ชูดอกมะรุม) ชูดอกมะรุม (ชูดอกมะรุม) ใต้ต้นหญ้ารกมันปกคลุม ขึ้นอยู่รุมสุม คลุมโคน บุหงาตันหยง หยงไหรเด้น้อง ชูดอกลำแพน (ชูดอกลำแพน) ชูดอกลำแพน (ชูดอกลำแพน) บังนั่งหยองยองมองเห็นแลน เฮ...ตัวเท่าแขนแล่นลงรู (ดนตรีรับ 1 เที่ยว) บุหงาตันหยง หยงไหรเด้น้อง ชูดอกผักบุ้ง (ชูดอกผักบุ้ง) ชูดอกผักบุ้ง (ชูดอกผักบุ้ง) ยะลาบ้านบังยังแต่ยุง หยบอยู่ในมุ้งจนรุ่งราง บุหงาตันหยง หยงไหรเด้น้อง ชูดอกยอ (ชูดอกยอ) ชูดอกยอ (ชูดอกยอ) เห็นพระอาทิตย์ ดวงแดงล่อ สาดส่องแสงทอ เมลืองเมลือง
👏👏👏👏👏👏👏
ขออนุญาตนำเพลงและท่ารำไปใช้จัดการแสดงของนักเรียนในกิจกรรมของโรงเรียนนะคะ
สวยมาก
ขอบคุณครับ
สุดยอด ทั้งทำนองเพลงและท่ารำค่า นานๆได้มาสักครั้ง
ขอบคุณครับที่ชื่นชอบ
ผลงานดีค่ะ ทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน) ภายใต้ สนง.คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว)
ขอบพระคุณครับที่ชื่นชอบครับ
ฝากติชมการแสดงชุด กลมคนัง ด้วยนะครับ
ការរាំ និងសាច់ភ្លេង កាន់តែខិតមករកចំណុចដើមរបស់ ជនជាតិខ្មែរ
0:11
0:11
0:08
เป็นศิลปการแสดงที่ทรงคุณค่าสูงมาก
ขอบคุณครับ
สวัสดีครับ จากรายการ 360 องศา NEWSHOW ของช่อง 9 MCOT ครับ คือว่าสนใจในการแสดงนี้อยากให้ไปออกในรายการ 360 องศา NEWSHOW ของช่อง 9 MCOTครับ รบกวนขอเบอร์โทรติดต่อหรือติดต่อกลับด้วยนะครับ ขอบคุณครับ
จำได้แล้วครูกาย คนเก่งของเรา รองจากครูเติ้ง รักนะคะติดตามตลอดค่ะ
ท่าเก๋ รำอวดฝีมือได้สวยมาก
คนที่แสดงเป็นมหิงสาร่างควาย ใช่น้องกิ้ นายแบบรึเปล่าคะ
ใช่ครับ
ทั้งชุดทั้งท่ารำ ทุกครั้งที่เปิดดู ทำให้รู้สึกเหมือนย้อนไปช่วงอยุธยาปลายเลยทีเดียว งดงามเข้มขลังครับ ขออนุญาตนะครับ รู้สึกว่า ผ้านุ่งนางจะยาวกว่าชุดยุคก่อนๆนิดหนึ่ง เป็นเพราะหน้าผ้ากว้างมากรึเปล่าครับ
ขอบคุณครับ
ชอบครูกาย รำสวย และเก่งมากค่ะ..ติดตามอยู่เสมอ
ขอบคุณแทนครูกายนะครับ
สวยจัง เพิ่งเคยเห็นเลน
ขอบคุณครับ
มีในกำแพงมั้ยไอ้กาว แบบนี้..ฟรัด
พี่ครับเป็นการำปะเภทไหนหรอครับ
เป็นละครรำสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ครับ กระบวนท่ารำใช้โครงสร้างท่ารำจากตำรารำ เช่น ตั้วงหักเป็นฉาก การลงเหลี่ยมกว้าง เป็นต้น และสอดแทรกภาษามือของอินเดียที่เรียกว่า "มุทรา" มาช่วยสื่อความหมายครับ
ละครรำตามแบบสมัยอยุธยา
ขอบคุณครับ
เป็นการแสดงที่ดีและประทับใจมาก ๆ ครับ ขอให้สร้างการแสดงดีๆ แบบนี้อีกนะครับ บทร้องไพเราะมาก ครับ และทุกท่านรำสวยมากครับ
ขอบคุณมากครับ
นาฏศิลป์ชั้นสูง นานๆจะได้ดูที
ขอบคุณครับ
สวัสดี ฉันมาจากอินเดีย ในฐานะชาวฮินดูฉันรู้ว่าเรื่องนี้เป็นละครมหากาพย์ของชาวฮินดูและเทพเจ้าเทพธิดาที่แสดงในละครเรื่องนี้เป็นชาวฮินดูทั้งหมด ชื่อมหากาพย์คือ Durga Durga เป็นเทพธิดาแห่งจิตวิญญาณของอินเดีย
Thank you
Yes , It is a newly created dance drama. Dance steps used The structure of the dance moves from Ayuthdaya dance texts and inserted in the Indian sign language called "Mudra" to help convey the meaning.
@@stknife ขอบคุณนะครับ
Lol THAI NOW WANT TO REPRESENT INDIA 😅😅😅😅😅😅
LOL! It took you long enough to get here! Was wondering where all the TROLLS 🧌 were! LMAO!
So What ? Can you do like this ? The dance drama Katyani is the research work of Mr. Kritsana Sai Sunee, a professor at the Nakhon Si Thammarat College of Dramatic Arts, Bunditpatanasilpa Institute. It received funding from the Bundit Patanasilpa Institute. The story refers to the Incarnation of Uma as the goddess Kat. Medicine to come down and defeat the demon Mahingsa. By combining 3 types of performance formats, namely, the hand-offering dance (the opening ceremony) with actors of the monks and women, such as the Chatri drama. Dancing shows off skills like Non-Royal Drama and Internal Drama The action is fast. Fun and entertaining like a drama outside the royal style The dance moves use the dance structure from Ayuthdaya dance texts and incorporate Muthra sign language to help convey the meaning.
@@stknife THAI WERE NEVER HINDU until they came under the Khmer rule from their homeland in China this is Khmer and India culture .
Don’t claim to kamen .
Your education in art and history as international level are failed. So don’t claim any Thai art to be kamen. Please maintain social etiquette !
รำยากมาก ใช้พลังมาก ชอบ
ใช่ครับ ขอบคุณที่ชื่นชอบนะครับ
Copy Cambodia 100%
My heart double its pace after watch the VDO start few mn, it is really Cambodia dancing performance.
I feel the same way when I was watching Swan Lake Ballet. When all the ballerinas was dancing in line, I knew for sure they copy Cambodian dance. It’s sad that the WHOLE WORLD is copying Cambodia. It’s hard enough to establish a national identity and then someone else has the same thing…. Ugh…
@@yornsreynoch4671 ไหนเอาของกัมพูชา มาดูสิว่าทำได้ดีเท่าของไทยเปล่า ?
@@persepolis80 ไม่เป็นของ อินเดีย และไทยก็รับมาจากอินเดียไม่ใช่กัมพูชา ถ้าบอกว่าเป็นของกัมพูชา เอาวิดีโอมาดูสิ ว่าทำได้ดีเท่า ของไทยรึเป่ล่า ?
@@persepolis80 I don't means it Cambodia's performance. Yes, it is a Thailand show. but I said it looks the same as Khmer dancing. You know? I am also a traditional dancer, I know what the difference btw Khmer and Thai dance. Years ago Cambodians can see your Thai dance looks different from my Khmer dance. but nowadays, it almost looks the same. How could it be? I don't know if it's a copy or not I just wanna say it looks almost the same.
7:27
Copy
เพลงน่ารักดีครับ
ขอบคุณครับ
รำเบิกโรงช่วงแรกเห็นแค่คนหน้าคู่เดียวเลย น่าจะนั่งเหลื่อมกันสักนิดครับ
ขอบคุณมากครับ จะน้อมรับไปพัฒนางานต่อไปครับ
แนวการรำแบบโบราณค่ะ
แสงดีมาก ฉากควรมีดอกไม้ร่วง นานๆที หรือจุด เที่ยน บางแห่ง อย่าขี้เหนียว...ครับ
ขอบคุณครับ น้อมรับไปพัฒนา ปรับปรุงต่อไปครับ
รู้จักคิด ไม่เชยเหมือนรุ่นครูรัตติยะ😃😃🤣🤣😂😁🤗🤗🤗🤗
ขอบคุณครับ
นาฏศัพท์ดีมาก แต่เวลารำ ให้น้อมใจไปในองค์ฌาน มากกว่าที่จะเอาใจคนดู เพราะโขนละคร เป็นเรื่องจิตวิญญาน
ขอบคุณครับ จะนำไปพัฒนาในงานต่อๆไปครับ
บ่นไร
ขออนุญาตแชร์นะครับ น่าสนใจมากๆครับ
ด้วยความยินดีครับ ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากเลยครับ ยอดเยี่ยม
ขอบคุณครับ
ยอดเยี่ยมทุกองค์ประกอบครับ นักแสดง ร่ายรำสุดฤทธิ์สุดฝีมือ
ขอบคุณมากครับ
สวยงามมากๆๆๆๆครับ
ขอบคุณครับ
ดี สวยงาม
กราบขอบพระคุณครับ
ยอดเยี่ยมที่สุดครับงดงามเกินคำบรรยาย
ขอบคุณครับ
ขอบคุณที่เอามาลงให้ได้ชมครับ
ด้วยความยินดีครับ ขอบคุณครับ
ดนตรีรื่นหูมากกว่าของเขมรมาก
เหมือนๆกัน
Thai copy
ขอบคุณมากครับ
@@mixaochuangot4010 claim bodog copy land 🇰🇭🇰🇭🇰🇭
ตอนเขมรเป็นเมืองขึ้นสยาม ไทยไปถ่ายทอดนาฏศิลป์ให้เขมร ตั้งแต่ต้นรัตนโกสินทร์แล้ว สืบจากประวัติศาสตร์ได้เลย..ท่ารำเขมรจึงคล้ายๆ..ไทย เราไม่ได้copy มา เข้าใจใหม่นะ บางคน
สวยมากคะพึ่งได้ดูรำสวยมากขอบคุนสำหรับการอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมไทยที่งดงามคะ
ด้วยความยินดีครับ ขอบคุณครับ
🤣🤣🤣
😂😂😂
ពកថៃវា copy យើង
ดีมักๆ
ขอบคุณครับ
ต้องขอขอบคุณผู้แสดงทุกท่านที่ทำให้มีผู้อยากย่องนาฏศิลป์ไทยชั่วกาลนาน
ขอบคุณมากครับ
ชอบมากครับเนื้อเรื่องต่างจากทั่วไป การร่ายรำก็สวยงามมาก
ขอบคุณมากครับ
👏👏👏
ขอบคุณมากครับ
อยากทราบถาม เรื่องการสวมเล็บ ครับ กรณีไหบบ้างการแสดงที่ต้องสวมใช่การแสดงประเภท ระบำ รำ ฟ้อน หรือเปล่าที่ต้องสวมครับ
ถ้ายังไงผมจะหาข้อมูลมาตอบให้นะครับ ขอบคุณมากครับ
ที่เห็นนะครับก็จะมี ฟ้อนเล็บของภาคเหนือ โนราของภาคใต้ ฟ้อนภูไทของภาคอีสาน
ละครของไทยสมัยก่อนเขาจะใส่เล็บ แล้วอันนี้เป็นละครรำโดยอิงอย่างโบราณเขาจึงใส่เล็บ
งดงามเหลือเกิน👏👏👏
ขอบคุณมากครับ