- 82
- 236 651
Natee Chiengchana
เข้าร่วมเมื่อ 7 ก.พ. 2010
เผยแพร่บทเพลงอันทรงคุณค่าเพื่อประโยชน์ในเชิงวิชาการ
ต้นเพลงฉิ่ง 3 ชั้น (ทางร้อง)
ขับร้องโดย นัทธี เชียงชะนา
ได้รับถ่ายทอดจาก ครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ)
เนื้อร้อง
กากี ป้องปัด สลัดกร
ชายเนตร คมค้อน ให้ปักษา
เออไฉน ไยนี่ อหังการ์
เอื้อนอรรถ วัจนา ทุกสิ่งอัน
#ดนตรี #ดนตรีไทย #ต้นเพลงฉิ่ง #ขับร้องไทย #thaimusic
ได้รับถ่ายทอดจาก ครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ)
เนื้อร้อง
กากี ป้องปัด สลัดกร
ชายเนตร คมค้อน ให้ปักษา
เออไฉน ไยนี่ อหังการ์
เอื้อนอรรถ วัจนา ทุกสิ่งอัน
#ดนตรี #ดนตรีไทย #ต้นเพลงฉิ่ง #ขับร้องไทย #thaimusic
มุมมอง: 739
วีดีโอ
สาริกาชมเดือน ๓ ชั้น ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์
มุมมอง 5262 ปีที่แล้ว
สาริกาชมเดือน ๓ ชั้น ขับร้องโดย ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ บรรเลงโดย วงปี่พาทย์ไม้นวม คณะดุริยประณีต ภาพจาก: FB บ้านบางลำพู ครูสุดจิตต์ Retrieved from BanBangLamphu/photos/ครูแช่มช้อย-ดุริยพันธุ์-๒๔๖๒-๒๕๒๖-ผู้สอนให้ครูดวงเนตร-รู้จักกระบวนประดิษฐ์ทางร้อ/2453102531408901/
แสนคำนึง เถา ขับร้องโดย สุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ)
มุมมอง 7662 ปีที่แล้ว
แสนคำนึง เถา ผลงานการประพันธ์ของ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ขับร้องโดย ครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ) บรรเลงโดยวงเครื่องสายผสมออร์แกน คณะเสริมมิตรบรรเลง รายนามนักดนตรี 1.เบ็ญจรงค์ ธนโกเศศ (ศิลปินแห่งชาติ) ซอด้วง 2.ยรรยงค์ แดงกูร ซออู้ 3.รำพึง โปร่งแก้วงาม ขิม 4.ชิต แฉ่งฉวี ออร์แกน 5.สุรชัย แดงกูร ขลุ่ย 6.บุญสืบ ภู่เถื่อน โทนรำมะนา
ดอกไม้ไทร ๒ ชั้น ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์
มุมมอง 4023 ปีที่แล้ว
ดอกไม้ไทร ๒ ชั้น ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ แผ่นเสียงตราโคลัมเบีย เทปเสียงและภาพปกนี้ได้รับความอนุเคราะห์จากครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ) เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่คีตศิลป์ไทยและดนตรีไทย
ปลาทอง เถา ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์
มุมมอง 4983 ปีที่แล้ว
ปลาทอง เถา ขับร้องโดย ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ บรรเลงโดย วงปี่พาทย์ไม้นวม กรมศิลปากร รายนามนักดนตรีที่พอจะสืบค้นได้ 1. เผือด นักระนาด ระนาดเอก 2. หลวงไพเราะเสียงซอ ซออู้ เทปเสียงและรูปปกได้รับความอนุเคราะห์จากครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ) เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่ดนตรีและคีตศิลป์ไทย
เขมรปี่แก้วทางสักวา ๓ ชั้น ครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ)
มุมมอง 5193 ปีที่แล้ว
เขมรปี่แก้วทางสักวา ๓ ชั้น วงเครื่องสายเปียโนผสมแอคคอเดี้ยน คณะเสริมมิตรบรรเลง รายนามนักดนตรี 1. สุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ) ขับร้อง 2. รำพึง โปร่งแก้วงาม แอคคอเดี้ยน 3. ชิต แฉ่งฉวี เปียโน 4. ยรรยงค์ แดงกูร ไวโอลิน 5. สุรชัย แดงกูร ขลุ่ย 6. บุญสืบ ภู่เถื่อน โทน-รำมะนา
ทยอยใน เถา ทัศนีย์ ดุริยประณีต วงมโหรีกรมประชาสัมพันธ์
มุมมอง 8953 ปีที่แล้ว
ทยอยใน เถา วงมโหรีกรมประชาสัมพันธ์ แสดงสด ณ สังคีตศาลา กรมศิลปากร พ.ศ.2496 รายชื่อนักดนตรี (เท่าที่ทราบ) 1) ควบคุมวง: พุ่ม บาปุยะวาทย์ 2) ขับร้อง: ทัศนีย์ ดุริยประณีต 3) ระนาดเอก: ประสงค์ พิณพาทย์ 4) จะเข้: ระตี วิเศษสุรการ
เพลงปรบไก่ (ละครดึกดำบรรพ์ เรื่อง คาวี) ขับร้องโดย สุดา เขียววิจิตร และเจริญใจ สุนทรวาทิน
มุมมอง 2.3K3 ปีที่แล้ว
เพลงปรบไก่ ขับร้องต้นเสียง: สุดา เขียววิจิตร และเจริญใจ สุนทรวาทิน ลูกคู่: ศรีนาฏ เสริมศิริ สุดจิตต์ ดุริยประณีต และสุรางค์ ดุริยพันธุ์ “เพลงปรบไก่” เป็นเพลงพื้นบ้านประเภทหนึ่ง ไม่มีดนตรีบรรเลงประกอบ เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่างพ่อเพลงและแม่เพลง มีลูกคู่ร้องรับ ปรบมือรับกันเป็นจังหวะ ด้วยคำร้องว่า “ฉ่าฉ่าฉ่าชา ชะฉ่าไฮ้” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ทรงนำเพลงปรบไก่ มาบร...
หุ่นกระบอกเข้าซอ (หุ่นกระบอกดึกดำบรรพ์) เจริญใจ สุนทรวาทิน และสุดจิตต์ ดุริยประณีต
มุมมอง 2.1K3 ปีที่แล้ว
หุ่นกระบอกเข้าซอ (หุ่นกระบอกดึกดำบรรพ์) ขับร้องต้นเสียง: เจริญใจ สุนทรวาทิน และสุดจิตต์ ดุริยประณีต ลูกคู่: สุดา เขียววิจิตร ศรีนาฏ เสริมศิริ และสุรางค์ ดุริยพันธุ์ ซออู้: ประเวช กุมุท "หุ่นกระบอกเข้าซอ" หรือเรียกอีกชื่อว่า "หุ่นกระบอกดึกดำบรรพ์" เป็นเพลงหนึ่งใน ละครดึกดำบรรพ์ เรื่อง สังข์ศิลป์ชัย ตอนที่ 2 ตามหา พระนิพนธ์ ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เพลงหุ่นกระบอกน...
ล่องเรือพระนคร ขับร้องโดย ครูสุดา เขียววิจิตร
มุมมอง 9453 ปีที่แล้ว
ล่องเรือพระนคร ขับร้องนำโดย ครูสุดา เขียววิจิตร บันทึกจากการแสดงสด กรมศิลปากร (ไม่ทราบปี พ.ศ) เพลงล่องเรือพระนคร บทนี้ อยู่ในละครนอกเรื่องสุวรรณหงส์ (ฉากที่ 4 สวนหลวง) บทละครของกรมศิลปากร บทร้องล่องเรือพระนครนี้ เป็นตอนที่พระสุวรรณหงส์ พา พราหมณ์เกศสุริยง ชมอุทยานดอกไม้ ร้องล่องเรือพระนคร ● พระองค์ สุวรรณหงส์หรรษา ชวนพราหมณ์ ดำเนินเดินตามกันมา ชมพรรณบุปผา นานาในอุทยาน เอย ฯ ● ดอกสร้อย เจ้าพราหม...
โทนช้าง ครูสุดา เขียววิจิตร
มุมมอง 4673 ปีที่แล้ว
โทนช้าง ขับร้องนำโดย ครูสุดา เขียววิจิตร บันทึกจากการแสดงสด กรมศิลปากร (ไม่ทราบปี พ.ศ) "โทน" เป็นชื่อเพลงประกอบการแสดงโขน หรือละครใน โดยมีเนื้อหาชื่นชมความงดงามของพาหนะ ต่างๆ ได้แก่ โทนช้าง โทนม้า และโทนร สำหรับเพลง "โทนช้าง" ที่นำมาเผยแพร่นี้ มาจากบทละครเรื่องอิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง มีบทร้องว่า......... ช้างเอยช้างที่นั่ง สะพักพังหลังดีไม่มีสอง งามสรรพสรรพางค์หางบังคลอง ผูกจำลองจำหลักลายพรา...
ลาวดำเนินทราย 2 ชั้น ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์
มุมมอง 2K3 ปีที่แล้ว
ลาวดำเนินทราย 2 ชั้น ขับร้องโดย ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ บรรเลงโดย วงมโหรีกรมศิลปากร ได้รับความอนุเคราะห์เทปเสียงและภาพถ่ายจากครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ) เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่ดนตรีไทยและคีตศิลป์ไทย
ชุมนุมฉุยฉาย ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ วงปี่พาทย์กรมศิลปากร
มุมมอง 1913 ปีที่แล้ว
เพลง: ชุมนุมฉุยฉาย ขับร้องโดย: ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ บรรเลงโดย: วงปี่พาทย์กรมศิลปากร ได้รับความอนุเคราะห์เทปเสียงจากครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ) เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่ดนตรีไทยและคีตศิลป์ไทย การรำชุมนุมฉุยฉายนี้ มีวัตถุประสงค์ของการรำเพื่อความขบขันและเปรียบเทียบท่ารำของตัวละครประเภทต่างๆ ได้แก่ พระ นาง ยักษ์ ลิง และพรหมณ์ ซึ่งรำในบทเดียวกัน แสดงครั้งแรกในงานดนตรีมหกรรมของกรมศิลปา...
เพลงไทยธรรมะ เนื่องในวันอาสาฬหบูชา ขับร้องโดย ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ และครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์
มุมมอง 1203 ปีที่แล้ว
เพลงไทยธรรมะ เนื่องในวันอาสาฬหบูชา โดยพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย "บทร้องธรรมภาษิตคำกลอน ชุดดอกสร้อยแสดงธรรม 24 ฉากของชีวิต" บทประพันธ์ของสิริวยาส (พุทธทาสภิกขุ) ขับร้องโดย: ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ และครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ) บรรเลงโดย: วงปี่พาทย์ไม้แข็ง คณะดุริยพันธุ์ ระนาดเอก: ครูสุพจน์ โตสง่า ปี่ใน: ครูจำเนียร ศรีไทยพันธุ์ บันทึกเสียงที่ห้องส่งกรมประชาสัมพันธ์ รายชื่อบทเพลง 1. มอญร...
โอ้ลาว เถา ขับร้องโดย ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ วงปี่พาทย์ไม้แข็ง คณะดุริยพันธุ์
มุมมอง 5343 ปีที่แล้ว
โอ้ลาว เถา วงปี่พาทย์ไม้แข็ง คณะดุริยพันธุ์ (ขออนุญาตแก้ไขจาก คณะดุริยประณีต เป็นคณะดุริยพันธุ์) รายนามนักดนตรี ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์: ขับร้อง ครูสุพจน์ โตสง่า: ระนาดเอก ครูจำเนียร ศรีไทยพันธุ์: ปี่ใน ครูสุชาติ คล้ายจินดา: ระนาดทุ้ม ครูสมชาย ดุริยประณีต: ฆ้องวงใหญ่ ครูแซน กองโชค: ฆ้องวงเล็ก ครูสมพงษ์ นุชพิจารณ์: กลองสองหน้า ครูพจนา ดุริยพันธุ์: ฉิ่ง บันทึกที่ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม (ประมาณปี...
โอ้ลาว เถา ขับร้องโดย ครูสุดา เขียววิจิตร
มุมมอง 7053 ปีที่แล้ว
โอ้ลาว เถา ขับร้องโดย ครูสุดา เขียววิจิตร
เพลงไทยธรรมะ เรื่อง พุทธประวัติ ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ และครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ)
มุมมอง 1403 ปีที่แล้ว
เพลงไทยธรรมะ เรื่อง พุทธประวัติ ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ และครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ)
บทธรรมภาษิต เสภาส่งนำ ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ และครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ)
มุมมอง 1533 ปีที่แล้ว
บทธรรมภาษิต เสภาส่งนำ ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ และครูสุรางค์ ดุริยพันธุ์ (ศิลปินแห่งชาติ)
ลีลากระทุ่ม ๒ ชั้น ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ ขับร้อง
มุมมอง 2093 ปีที่แล้ว
ลีลากระทุ่ม ๒ ชั้น ครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ ขับร้อง
เดี่ยวจะเข้ เพลงนกขมิ้น 3 ชั้น (ทางจางวางทั่ว พาทยโกศล)
มุมมอง 5903 ปีที่แล้ว
เดี่ยวจะเข้ เพลงนกขมิ้น 3 ชั้น (ทางจางวางทั่ว พาทยโกศล)
เดี่ยวจะเข้ เพลงช้างประสานงา 3 ชั้น (ทางจางวางทั่ว พาทยโกศล)
มุมมอง 4714 ปีที่แล้ว
เดี่ยวจะเข้ เพลงช้างประสานงา 3 ชั้น (ทางจางวางทั่ว พาทยโกศล)
เดี่ยวจะเข้เพลงจีนขิมใหญ่ (ทางครูจ่าง แสงดาวเด่น)
มุมมอง 1.2K4 ปีที่แล้ว
เดี่ยวจะเข้เพลงจีนขิมใหญ่ (ทางครูจ่าง แสงดาวเด่น)
เดี่ยวจะเข้ สุดสงวน 3 ชั้น (ทางจางวางทั่ว พาทยโกศล)
มุมมอง 5074 ปีที่แล้ว
เดี่ยวจะเข้ สุดสงวน 3 ชั้น (ทางจางวางทั่ว พาทยโกศล)
มีโน้ตไหมครับ
เก่งมากค่ะ ไพเราะมากค่ะ ขอบคุณมากค่ะ
อยากได้เนื้อร้อง
ผมกล้าพูดได้เต็มปากว่าท่านหนึ่งในสยามจริงๆ"ครูเหนี่ยว ดริยพันธุ์"
ตระกูล ดุริยพันธ์ ร้องเพราะทุกคน ตั้งแต่ครูเหนี่ยว ครูแช่มช้อย ครูสุรางค์ ครูน้อย ครูเข...
ฟังเท่าไหร่ก็ไม่เบื่อ
ขอบคุณที่นำเสนอ สมัยเรียนวิชาขับร้อง อ.พาร้องประจำ
สวัสดีค่ะ
คุณภาพเสียงยังแจ๋ว
ลูกเขยตีระนาด แม่ยายร้อง เพราะมากๆ...
เพลงสุดสงวน 3 ช้ัน (เที่ยวที่1) น้องเอ๋ย เพราะน้อย หรือถ้อยค า ช่างหวานฉ่า จริงแลว้เจา้แกว้เอ๋ย แม่เน้ือหอม พร้อมชื่น ดงัอบเชย เงยหนา้มาจะวา่ ไม่อา พราง (เที่ยวที่2)ไดช้ มชิด เขา้สนิท อยา่ งน้ีแลว้ ขอเชิญแกว้ กิริยา เมตตาบา้ง พี่จะมอบรักไว้ที่ในนาง อยา่ ระคางขอ้งแคน้ ระคายเคือง (เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน)
ฟังเพลงนี้ทีไร น้ำตาไหลทุกที โดยเฉพาะครูร้องที่เข้าถึงอารมณ์เพลงจริงๆอย่างครูเหนี่ยวครับ...กราบ
ครูเหนี่ยวท่านร่องไว้หลายครั้งในเพลง "แขกมอญ"นี้ แต่ไม่ทราบว่า จะได้จากที่ไหน.
ครูสุรางค์เสียงดีร้องหวานเพราะจับใจ.
ควรค่ารักษาไว้ให้ยุวชนรุ่นหลังได้ศึกษา
มีเพลงอื่นในชุดตับต้นต่อไหมครับ
ที่เคยลงไว้มี จระเข้หางยาว และตวงพระธาตุครับ
เสียงใสดีมากเลยครับ
สุดยอด
เพราะมาก.
เสียงเพราะทุกท่านเลยสุภาพสตรีสกุลดุริยะพันธ์
ฟังทีไร น้ำตาไหลได้ทุกทีซีน่า
สมแล้วครับที่ได้รับเป็นศิลปินล์แห่ชาติ
ตระกูลนี้ นักร้อง ร้องเพราะ เสียงดีทุกคน ครูเชื่อม ครูแช่มช้อย ครูทัศนีย์ ครูสุดจิดร์ ตกทอดมาถึงครูสุรางค์ ครูน้อย ครูเข ดุริยพันธ์...
😊😊😊
เป็นบุญหูที่ได้ฟัง ขอบคุณมากครับ
เพลงนี้มีสร้อยทุกท่อน
เพลงนี้เคยร้องได้แต่ปัจจุบันจําเนื้อร้องไม่ได้เพราะดี เพราะมีสร้อยมุกท่อ
โอ้แจ่มจันทร์ขวัญเรือน น้องพี่ผู้เพื่อนไร้ ผิวพรรณผุดผ่อง งามเหมือนหนึ่งทองอุไร ทรวดทรงดังทรงวาด งามวิลาศวิไล มีเสียอยู่นิด แต่ต้องติดกลองใหญ่ น่าเสียใจจริงเอย ผลกรรมของน้อง จึงต้องติดกลองขัง สิ้นเคราะห์เพราะเจาะหนัง ได้น้องเป็นชายา พระฆ่านกอินทรีย์ ศัตรูบุรีมรณา ปราบดาภิเษกสวัสดิ์ เป็นเจ้าของรัฐสีมา เสียนิดผิดเข้า ที่เป็นเจ้าไร้ค่า น่าเวทนานักเอย เวทนาพี่หรือ ยกเหตุว่าคือไร้ค่า จะว่าจงหยั่ง ข้างหลังข้างหน้า เสียให้ถ้วนถี่ ตัวพี่เป็นเจ้ามีบ่าวไพร่ ยายเฒ่าเป็นไรนี่
เป็นเวลาดึกหนักหนาอยู่แล้วหนอ จะรีรอร้องเล่นเป็นห่วง เหมือนเกสรโกสุมทุกพุ่มพวง จะแรมร่วงโรยราน่าเสียดาย โอ้ว่าอกเอ๋ยกรรม อกเอ๋ยจะท าเป็นฉันใด แม้ไม่มีห่วงบ่วงใย ตัวฉันไม่ไปเลยเอย เป็นกรรมจ าพราก จ าจากจ าไกล จ าจิตจ าใจ จ าจากจ าไกลกันเอย
เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน (โบก) ทั้งกวางเดินดงหงส์บิน กินรินเลียบถ้ำอำไพ(โบก) ท่ารับผาลาอีกช้านางนอนภมรเคล้า แขกเต้าผาลาเพียงไหล่ (โบก) เมขลาโยนแก้วแววไว มยุเรศฟ้อนในนภาพร(โบก) ท่ารับจีบยายอดตองต้องลมพรหมนิมิต อีกทั้งพิศมัยเรียงหมอน(โบก) ย้ายท่ามัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจักรฤทธิรงค์(โบก) ท่ารับสอดสร้อย
ลูกเขย ตีระนาด (ครูปี๊ด)
อันนี้บทร้องตอนไหนครับ
ขอบคุณที่ทำให้ได้ฟังครับ🙏🙏🙏
ด้วยความยินดีครับ
คิดถึงคุณครูทุกท่านค่ะ
เสียงคุณครูมีพลังจริงๆค่ะ กำลังดีมาก
พระเอยพระยอดฟ้า พระสนิทนิทราอยู่บนที่ ทรงสดับขับไม้มโหรี ซอสีส่งเสียงจำเรียงราย เชิญพระบรรทมสถาพร จะกล่าวกลอนถนอมกล่อมถวาย ให้ไพเราะเสนาะพระทัยสบาย พระฤาสายจงไสยาเอย
ขออณุญาตสอบถามนะครับ อันนี้เขาใช้วงปี่พาทย์ไม้นวมแบบไหนหรอครับ แบบเครื่องห้า หรือคู่ หรือใหญ่
คาดว่าน่าจะ เป็นเครื่องคู่ครับ
🙏🙏🙏กราบคุณครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ ด้วยความเคารพระลึกพระคุณค่ะ เป็นบทเพลงอันทรงคุณค่าเพื่อประโยชน์ในเชิงวิชาการดังคำอธิบาย..ขอร่วม ส่งเสริม สนับสนุนรากไทย รากนี้ด้วยอีกหนึ่งกำลังใจนะคะ แม้ผู้ฟังอาจจะไม่ได้เชี่ยวชาญวิชาการและปฏิบัติในรากสำคัญนี้แต่ผูกพันและได้พอมีโอกาสเรียนรู้ รับทราบค่ะ ว่ารากนี้สำคัญเพียงใด #หนึ่งในรากเรา คีตศิลป์ไทยผูกสัมพันธ์ในหลายๆรากเชื่อมโยงสัมพันธ์อย่างกรุณา เกื้อกูล สนับหนุนกัน ก่อเกิดความไพเราะ งดงาม ความรัก ความภูมิใจร่วมกัน รวมเป็นรากเรา ในต้นศิลป์เดียวกันเรา หยั่งลึกอยู่ในต้นไม้มงคลสำคัญเดียวกันนะคะต้นไม้มงคลต้นนี้มีรากมากมายที่สำคัญร่วมกันค่ะ😊 ขอร่วมสนับสนุนด้วยการรับชม รับฟังในช่องทางสื่อเสรีอย่างสร้างสรรค์ในงานอนุรักษ์นี้อีกทางนะคะขอร่วมส่งกำลังใจและ🙏ขอบพระคุณค่ะ😊#" เสรีอย่างสร้างสรรค์ อนุรักษ์อย่างไม่เลือนหาย" "ไทยช่วยไทยเราช่วยกัน" 😊
ตระกูลนี้ ร้องเพลงเพราะทุกคน ครูเหนี่ยว ครูแช่มช้อย ครูสุรางค์ ครูน้อย ครูเข ตระกูลนักร้องจริงๆ(เหลือครูเข นฤพนธ์) คนเดียว...
ครูน้อย (ดวงเนตร) ยังมีชิวิตอยู่ไม่ใช่หรือครับ?!!!!
ครูเขหรือครู นฤพนธุ์ คือคนเดียวกัน คุณรํูไม่จริง ยังเป็นคอเพลงประจำชาติไม่ได้นา เสียหายหมด.
อย่างนี้ก็แแปลก ไปตีทะยอยสามชั้นเลย
ได้ยินเสียงคุณครูสุรางค์+คุณครูสุดจิตร แล้วอยากรำขึ้นมาเลยค่ะ
ที่ศาลพระพรหมฯยินดีต้อนรับครับ
@@k.7781 😃
ขอขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งค่ะ
หาฟังอยาก เพิ่งเคยได้ยินท่านร้องเพลงนี้ ลีลาการร้องไพเราะมาก พอจะทราบปีที่ท่านร้องไหมครับ
บทร้องเพลงปลาทอง ( เถา ) บทร้องเพลงปลาทอง ( เถา ) ๓ ชั้น ดอกเอยดอกรัก รูปทรงวงพักตร์ก็งามสม ทั้งท่วงทีกิริยาดูน่าชม ดังล่องลมลอยฟ้ามาสู่วัง ( ดอกเอ๋ยดอกสร้อย งามแฉล้มแช่มช้อยดูหยดย้อยเสียจริงเอย เหมือนโกสุมทุกพุ่มพวง บานอยู่ในห้วงชลาลัย บุญน้อยต้องลอยไป อีกเมื่อไรจะกลับมา ) ๒ ชั้น แม้ได้โฉมงามทรามสวาท ไม่นิราศเริดร้างเหมือนปางหลัง จะแนบนอนบนสุวรรณบัลลังก์ ไปไหนนั่งเคียงข้างไม่ห่างเลย ( ดอกเอ๋ยดอกมะปราง รักจริงจริงไม่ทิ้งขว้างรักแล้วไม่ร้างไปเอย แซ่เสียงเรไรร่อนร้อง ถูกลมแล้วก็ล่องลอยไป ดอกสร้อยสุมาลัย รักแล้วไม่ไกลเลยเอย ) ( บทร้องเก่า ) ชั้นเดียว ยามเดินดังจะเชิญประคองชวน ยามยิ้มดังจะยวนชวนเฉลย สุรศัพท์จับใจกระไรเลย เจ้าช่ออบเชยรักแล้วไม่เลยร้างไป หอมดอกกระถิน ยังแพ้กลิ่นสุดาเอย ( นายมนตรี ตราโมท แต่ง )
ไม่ทราบปี พศ เลยครับ กำลังสืบค้นประวัติเพลงนี้ ถ้าได้ข้อมูลจะแจ้งให้ทราบนะครับ
ครั้งใดที่กลับมาฟังก็เย็นจิตเสมอ ชื่นใจเสมอ สังคมเราหากร่มเย็นเป็นสุขเหมือนบทเพลงนี้คงเป็นสวรรค์บนดินให้พวกเราได้เย็นใจ
😀
ใครบรรเลงบ้างครับ
ไม่ทราบแน่ชัดครับ สมัยนั้นจากที่ฟัง ซอสามสาย น่าจะเป็น ครูอนันต์ ดูรยชีวิน ระนาดเอก น่าจะเป็นครูเผือด จะเข้ น่าจะเป็นครูละเมียด ครับ
@@TheGracehappy9 ถ้าครูเผือดตีระนาดเอก เป็นไปได้ไหมว่า อ.มนตรี ตีระนาดทุ้ม
@@surecomputer9539 ไม่แน่ใจเลยครับ เพลงนี้หาข้อมูลยากเหมือนกัน
@@TheGracehappy9 ผมคิดว่ามีส่วนใช่ครับ แต่ไม่การันตี
มีโนตลาวแพนใหมค่ะ
เพลงละคร ครูสุดา เขียววิจิตร (ยายเชื่อม) ท่านมีความเชี่ยวญชาญมากกว่าใคร แม่นเพลง จำเพลงได้มากกว่าใครในบ้านบางลำภู และเป็นผู้ถ่ายทอดให้กับน้อง ๆ และ หลาน ๆ ในภายหลัง ขอบคุณที่นำมาเผยแพร่ให้ฟัง และให้ระลึกถึงครูทุก ๆ ท่านอีกครั้ง
ขอบคุณครับ 😊
😘
หาฟังยากมาก มีคุณค่าทางวัฒนธรรม
เอามาลงอีกนะครับ
@@รักสยามหนังสือเก่า ด้วยความยินดีครับบบบ
ขอบคุณครับ ทรงคุณค่า
ขอบคุณครับ
อยากได้เนื้อเพลง จะหาได้ที่ไหนคะ
ลองหา ในบทละคร เรื่องพระลอ ครับ
ขอบคุษค่ะ