- 145
- 279 772
Illuminations Editions
Thailand
เข้าร่วมเมื่อ 5 ต.ค. 2017
งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ปรัชญาหมาและสัตว์ศึกษาที่มี(ห)ม(า)นุษย์เป็นศูนย์กลาง' ตอน ‘ความรู้สึกตัว’
งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ปรัชญาหมาและสัตว์ศึกษาที่มี(ห)ม(า)นุษย์เป็นศูนย์กลาง'
ตอน ‘ความรู้สึกตัว’ (𝐜𝐨𝐧𝐬𝐜𝐢𝐨𝐮𝐬𝐧𝐞𝐬𝐬)
วิทยากร
1. ปิยณัฐ ประถมวงษ์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2. วีรวุฒิ เหรียญมณี อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ
วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 14.00 น.-15.00 น.
ที่ Facebook ของ Illuminations Editions
ตอน ‘ความรู้สึกตัว’ (𝐜𝐨𝐧𝐬𝐜𝐢𝐨𝐮𝐬𝐧𝐞𝐬𝐬)
วิทยากร
1. ปิยณัฐ ประถมวงษ์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2. วีรวุฒิ เหรียญมณี อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ
วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 14.00 น.-15.00 น.
ที่ Facebook ของ Illuminations Editions
มุมมอง: 237
วีดีโอ
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'พยัคฆ์แห่งมาลายา: ชีวประวัติเติงกู มะห์หมูด มะห์ยิดดีน
มุมมอง 1602 หลายเดือนก่อน
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'พยัคฆ์แห่งมาลายา: ชีวประวัติเติงกู มะห์หมูด มะห์ยิดดีน ผู้ต่อสู้เพื่อเอกราชของปาตานี’ วิทยากร 1. ฮาร่า ชินทาโร่ นักวิชาการอิสระและผู้แปล 2. อรอนงค์ ทิพย์พิมล อาจารย์ประจำสาขาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. วันอิฮซาน ตูแวสิเดะ ครูโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ ที่ Facebook ของ Illuminations Editions วันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2...
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ เข้าใจ 'อัตถิภาวนิยม' ด้วยตนเอง'
มุมมอง 1.2K4 หลายเดือนก่อน
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ เข้าใจ 'อัตถิภาวนิยม' ด้วยตนเอง' วิทยากร 1. คงกฤช ไตรยวงค์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. ดลวัฒน์ บัวประดิษฐ์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันเสาร์ที่ 28 กันยายน 2567 เวลา 14.00 น.-15.00 น.
งานเสวนา 'นิติรัฐนิติธรรมฯ กับความเฟื่องฟูและล้มเหลวของนิติรัฐนิติธรรมในประเทศไทย'
มุมมอง 4045 หลายเดือนก่อน
งานเสวนา 'นิติรัฐนิติธรรมฯ กับความเฟื่องฟูและล้มเหลวของนิติรัฐนิติธรรมในประเทศไทย' วิทยากร 1. มุนินทร์ พงศาปาน-คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2. ปกป้อง จันวิทย์-อดีตประธานกรรมการบริหาร และบรรณาธิการอำนวยการ The101.world 3. ประจักษ์ ก้องกีรติ-คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4. เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง-คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบรรณาธิการประจำเล่ม ดำเนินรายการโดย ฐิตินันท์ เต็...
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘กษัตริย์จากต่างแดนฯ’
มุมมอง 4476 หลายเดือนก่อน
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘กษัตริย์จากต่างแดนฯ’ วิทยากร ปรีดี หงษ์สต้น นักวิจัยประจำศูนย์อาณานิคมและหลังอาณานิคมศึกษา มหาวิทยาลัยลินเนียส ประเทศสวีเดน-บรรณาธิการ ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม 2567 เวลา 10.00 น.-11.00 น. ที่ Facebook ของ Illuminations Editions illuminationseditions
พุทธ ผี สตรี พระ : พุทธศาสนาไทยใน "ผีอาลัยรักกับพระนักเวทย์"
มุมมอง 7847 หลายเดือนก่อน
My Buddhism's Live ฉบับพิเศษ พุทธ ผี สตรี พระ : พุทธศาสนาไทยใน "ผีอาลัยรักกับพระนักเวทย์" วันที่ 22 มิถุนายน 2567 เวลา 14.00-15.30 น. ร่วมสนทนาโดย ณีรนุช แมลงภู่ ม.ศิลปากร สมฤทธิ์ ลือชัย นักวิชาการอิสระ เดโชพล เหมนาไลย ม.ธรรมศาสตร์ ดำเนินรายการ : ชาญณรงค์ บุญหนุน ควบคุมรายการ : อุดม ตะหน่อง สนับสนุนรายการ : สำนักพิมพ์ Illuminations Editions โดยคุณพิพัฒน์ พสุธารชาติ
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘ชายแดน…ฉบับกระชับ’
มุมมอง 3767 หลายเดือนก่อน
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘ชายแดน…ฉบับกระชับ’ วิทยากร 1. จักรกริช สังขมณี อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ธนเชษฐ วิสัยจร หัวหน้าสาขาวิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี-ผู้แปล ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันอาทิตย์ที่ 16 มิถุนายน 2567 เวลา 14.00 น.-15.00 น. ที่ Facebook ของ Illuminations Editions
การทำ Live หนังสือ 'ผีอาลัยรักกับพระนักเวทย์ฯ'
มุมมอง 5138 หลายเดือนก่อน
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ผีอาลัยรักและพระนักเวทย์: สมเด็จโตกับนางนากและการนับถือพระพุทธศาสนาในสังคมไทยสมัยใหม่' ของ จัสติน โธมัส แมคดาเนียล วิทยากร 1. คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. ทศพล ศรีพุ่ม อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร-บก.แปล ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2567 เวลา 11.00...
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา: ความรู้ฉบับเบื้องต้น'
มุมมอง 326ปีที่แล้ว
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา: ความรู้ฉบับเบื้องต้น' ของเซร์ฆิโอ ซิสมอนโด วิทยาการ 1. ปกรณ์ เลิศเสถียรชัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-ผู้แปล 2. ปิยณัฐ ประถมวงษ์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันอาทิตย์ที่ 12 พฤศจิกายน 2566 เวลา 14.00-15.30 น. ทางช่อง Facebook ของ Illuminations Editions
งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘หลอมรวม/ล่มสลาย: ประวัติศาสตร์เชิงโบราณคดีของพระพุทธศาสนาในอินเดีย’
มุมมอง 1.2Kปีที่แล้ว
งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘หลอมรวม/ล่มสลาย: ประวัติศาสตร์เชิงโบราณคดีของพระพุทธศาสนาในอินเดีย’ ของลาร์ส โฟเคลิน วิทยาการ 1. เชษฐ์ ติงสัญชลี ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. วรรณพรรธน์ เฟรนซ์ นักวิชาการอิสระ-ผู้แปล 3. ปวินท์ มินทอง สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ 👉 วันจันทร์ที่ 3 กรกฎา...
เชิญชมการทำ Live ถกถึงหนังสือ 'บงการอธิปไตยฯ'
มุมมอง 397ปีที่แล้ว
เชิญชมการทำ Live ถกถึงหนังสือ 'บงการอธิปไตยฯ' โดยวิทยากร 1. ไชยันต์ รัชชกูล คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา 2. ณัฐพร สิทธิแพทย์ คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันอาทิตย์ที่ 19 มีนาคม 66; เวลา 14.00-15.00 น.
การทำ Live เสวนาหนังสือชุด 'ชาร์ลส์ โบดแลร์'
มุมมอง 460ปีที่แล้ว
การทำ Live เสวนาหนังสือชุด 'ชาร์ลส์ โบดแลร์' วิทยากร 1. ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. ชัยวัฒน์ ฤกษ์ชัยศรี นักวิชาการอิสระ-บก.หนังสือ วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 14.00-15.00 น. ที่ Facebook ของ Illuminations Editions
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'เคียร์เคอการ์ด...ฉบับกระชับ' ของ แพทริก การ์ดิเนอร์
มุมมอง 1.1K2 ปีที่แล้ว
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'เคียร์เคอการ์ด...ฉบับกระชับ' ของ แพทริก การ์ดิเนอร์ วิทยากร 1. รชฎ สาตราวุธ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2. พุทธิพงศ์ อึงคนึงเวช นักวิชาการอิสระ-ผู้แปลร่วม ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันอาทิตย์ที่ 11 ธันวาคม 2565 เวลา 14.00-15.00 น.
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'สยามเขตร:หลายหลายมิติเขตแดนสยาม'
มุมมอง 2492 ปีที่แล้ว
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'สยามเขตร:หลายหลายมิติเขตแดนสยาม' วิทยากร 1. ฐนพงศ์ ลือขจรชัย ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันอาทิตย์ที่ 6 พฤศจิกายน 2565 เวลา 14.00-15.00 น. ที่ Facebook ของ Illuminations Editions
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ปรัชญากฎหมาย…ฉบับกระชับ' ของบุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์
มุมมอง 5082 ปีที่แล้ว
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ปรัชญากฎหมาย…ฉบับกระชับ' ของบุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ วิทยากร 1. อุกฤษฏ์ แพทย์น้อย อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ พสุธารชาติ วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 14.00-15.30
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ประโยชน์ของความรู้ที่ไร้ประโยชน์'
มุมมอง 7312 ปีที่แล้ว
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ประโยชน์ของความรู้ที่ไร้ประโยชน์'
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ความหมายของชีวิต’ ของซูซาน วูล์ฟ
มุมมอง 1.2K2 ปีที่แล้ว
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ความหมายของชีวิต’ ของซูซาน วูล์ฟ
ชวนชมการทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘บงการอธิปไตยฯ'
มุมมอง 7262 ปีที่แล้ว
ชวนชมการทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘บงการอธิปไตยฯ'
งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'มัจฉา ปักษี ผีเสื้อ: อุปลักษณ์สัตว์และการผดุงชีวิตในปรัชญาของจวงจื่อ'
มุมมอง 2.1K2 ปีที่แล้ว
งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'มัจฉา ปักษี ผีเสื้อ: อุปลักษณ์สัตว์และการผดุงชีวิตในปรัชญาของจวงจื่อ'
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘เมื่อโลกติดเชื้อ’
มุมมอง 2332 ปีที่แล้ว
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘เมื่อโลกติดเชื้อ’
การทำ Live งาน Book Talk ถึงหนังสือ ‘ระเบียบของวาทกรรม’ ของมิเชล ฟูโกต์
มุมมอง 1.6K2 ปีที่แล้ว
การทำ Live งาน Book Talk ถึงหนังสือ ‘ระเบียบของวาทกรรม’ ของมิเชล ฟูโกต์
การบรรยายเรื่อง 'เมื่อใดจึงเป็น (รัฐ) ชาติไทย' โดย คุณฐนพงศ์ ลือขจรชัย
มุมมอง 9792 ปีที่แล้ว
การบรรยายเรื่อง 'เมื่อใดจึงเป็น (รัฐ) ชาติไทย' โดย คุณฐนพงศ์ ลือขจรชัย
งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘บนทางสู่อารยะ:สังคมวิทยาและประวัติศาสตร์ในทัศนะของนอร์เบิร์ต เอไลอัส'
มุมมอง 8012 ปีที่แล้ว
งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘บนทางสู่อารยะ:สังคมวิทยาและประวัติศาสตร์ในทัศนะของนอร์เบิร์ต เอไลอัส'
ชวนชมการทำ Live สนทนาถึงหนังสือ 'กบฏชาวนา: มูลฐานจิตสำนึกในอินเดียยุคอาณานิคม' ของรณชิต คูหา
มุมมอง 6772 ปีที่แล้ว
ชวนชมการทำ Live สนทนาถึงหนังสือ 'กบฏชาวนา: มูลฐานจิตสำนึกในอินเดียยุคอาณานิคม' ของรณชิต คูหา
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘ระเบียบของวาทกรรม’ ของมิเชล ฟูโกต์
มุมมอง 3K2 ปีที่แล้ว
การทำ Live งานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘ระเบียบของวาทกรรม’ ของมิเชล ฟูโกต์
การทำ Live เสวนาหนังสือ โปรตากอรัส ของเพลโต ครั้งที่ 2
มุมมอง 5563 ปีที่แล้ว
การทำ Live เสวนาหนังสือ โปรตากอรัส ของเพลโต ครั้งที่ 2
การทำ Live เสวนาหนังสือ โปรตากอรัส ของเพลโต
มุมมอง 1.1K3 ปีที่แล้ว
การทำ Live เสวนาหนังสือ โปรตากอรัส ของเพลโต
การเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ประยุทธ์ไม่ใช่สฤษดิ์: พลวัตรัฐราชการไทยจากยุครุ่งเรืองสู่ยุคเสื่อมถอย'
มุมมอง 1.6K3 ปีที่แล้ว
การเสวนาเปิดตัวหนังสือ 'ประยุทธ์ไม่ใช่สฤษดิ์: พลวัตรัฐราชการไทยจากยุครุ่งเรืองสู่ยุคเสื่อมถอย'
ชวนชมการเสวนาหนังสือ 'เมื่ออรุณจะรุ่งฟ้า: ขบวนการนักศึกษาไทย พ.ศ.2513-2519'
มุมมอง 7323 ปีที่แล้ว
ชวนชมการเสวนาหนังสือ 'เมื่ออรุณจะรุ่งฟ้า: ขบวนการนักศึกษาไทย พ.ศ.2513-2519'
ชวนชมงานเสวนา 'รัฐโลกวิสัย และศาสนาในพื้นที่สาธารณะ'
มุมมอง 1.5K3 ปีที่แล้ว
ชวนชมงานเสวนา 'รัฐโลกวิสัย และศาสนาในพื้นที่สาธารณะ'
มองในแง่ประโยชน์ใช้สอย การจัดกลุ่มแยกหมวดเป็นโครงสร้างนิยม หลังโครงสร้างนิยม นั้นง่ายต่อการศึกษา ซ้ำยังช่วยในการจัดลำดับทางประวัติศาสตร์อีกด้วย ฌัคส์ แดริดา เป็นหลังโครงสร้างนิยมด้วยวิธีจัดระเบียบนี้ มันง่ายต่อการทำความเข้าใจและศึกษา ทำให้ผู้ศึกษาเรียนรู้ได้มีประสิทธิผล และไม่เห็นจะก่อความเสียหายแต่อย่างใด
เพจโดนแฮคแล้วคับ
น่าฟังนะ แต่รำคาญเวลามีการพูดแทรกหรือการขานรับแบบอะไรก็ไม่รู้
โดนปิดกั้นการมองเห็นรึเปล่า หรือ คลิปจากเฟสบุ๊ค เอามาลง
7:00
20:00
เขลา ทำ เก่ง
เสียงไม่ชัดเ ท่าที่ควรคะ
1:04:37
59:00 1:17:00 1:28:40 1:37:20 d 1:41:40 d 1:44:40 d 1:50:20 1:51:30
14:36 17:10 26:35 47:50
45:00 46:35 d เจ้าไม่รู้จักสยาม 56:30 59:00 1:03:00 1:04:10 1:08:50 1:16:10 d รูปกับซาร์ 1:19:00 1:21:20 1:22:30 d
1:49:30 2:14:44
19:20 29:05 31:50 34:00 34:30 40:20 56:30 1:03:17 1:05:00 1:07:32 1:14:41
10:00 45:10 53:30
17:35 1:25:00 1:46:53 1:48:30 2:05:00 d 2:06:50
46:20 สร้างชาติอย่างไร
21:13 ชาตินิยมหลัง2475 22:50 33:28 36:44 ฝรั่งเศษเข้ามาพบว่า สยาม มี6ล้านคน 51:30 55:20 1:04:04 1:07:20
15:55 23:00 iระบอบเก่าไม่ปล่อยให้รัฐประชาชาติเติบโต 30:11 35:48 41:38 43:00 44:53 46:20 คนจีนไม่คิดว่าตัวเองเป็นคนไทยในสมัย ร6 48:00 คณะ รศ130 กษัตริย์ กับ ชาติเริ่มขัดแย้งกัน 49:56 ชาตินิยม ร6 51:26 ชาตินิยม เริ่มหลัง 2475 55:00 รัฐ เป็นตัวสร้างชาติ 58:00 59:20 ร5 รู้สึกเสียอินแดน แต่คนอีสานไม่รู้สึก 1:03:25 1:11:20 ปัจจุบันคือเผด็จการรอยัลลิซึ่ม ไม่ใช่ ชาตินิยม 1:15:03 1:17:10 เชื้อชาติไทย ยุค ป. ไม่ใช่bio 1:23:23 ต้องแยก ชาติ ออกจาก ชาติพัน เชื้อชาติ 1:28:39 1:31:25 คนอยุธยา ไม่รู้จักสยาม
16:00 17:30 22:15 23:40 26:20 27:50 28:40 38:50 42:00 44:20 48:40 รปห.2490 50:40 56:40 14ตุลา 59:20 1:02:50 พ.35 1:05:30 รธน.40 1:08:15 1:09:40 1:17:21 1:20:40 1:23:10 1:34:25 ความขัดแย้งชาติพัน สร้างชาติไม่ได้ 1:25:15 กปปส. กับ 14ตุลา 1:32:00
เข้าใจยากนะครับ แต่อธิบายได้ดีครับ ลึก แต่ครบ
👍👍👍 25:34
25:12 👍👍👍
พึ่งดูหนัง the lobster จบ คลิปขึ้นฟีดแบบงงๆ แต่ชอบมากค่ะ
เป็นชาวบ้านธรรมดานะครับอาชีพทำสวน เรียนไม่สูงแต่สนใจรายการขนิดฟังได้ทั้งวัน รายการดีวิทยากรคุณภาพต่อไปคนรับชมเยอะแน่นอน ขอบคุณที่นำเสนอให้เข้าถึง ชอบผู้ดำเนินรายการเป็นพิเศษ ได้รับชมรับฟังแล้วพลอยได้ยิ้มแย้มไปด้วย พ. พัฒนมงคล(ประชาชนทั่วไป)
เป็นประชาชนทั่วไปนะครับไม่ได้เป็นนศ. แต่สนใจฟังแนวนี้ได้ความรู้เยอะมาก โดยเฉพาะผู้ดำเนินรายการ ชอบเป็นพิเศษ
รายการดีมากเพิ่งมีเวลาตามตอนเกษียณนี่เอง ขออนุญาติเพิ่มเติมดังนี้ - น่าแปลกสมัยพุทธกาลก็สมบูรณาฯ แต่สำนักศาสดาต่างๆมีอิสระทางคำสอนลัทธิความเชื่อ บ้านเมืองเปิดกว้างมากจะเข้ามาตอนมีอาชญากรรมเท่านั้น - เราควรปรับแนวทางเผยแผ่ใหม่ อีกสิ่งหนึ่งที่คนยุคใหม่ศึกษาศาสนาในโลกส่วนตัว ห่างเหินวัดเพราะเบื่อพิธีกรรมต่างๆ แล้วยังมีพิธีการของทางบ้านเมืองอีกมากมาย บางครั้งก็สวมรอยไปอวยฆราวาสอีกต่างหาก(เป็นเรื่องจริงที่สอบถามความเห็นมานะ)
ขอความสันติ มีแด่ทฺกท่าน ใคร่ขอชี้แนะ หากจะพูดคุย เขียนหนังสือ หรือในบริบทใดเกี่ยวข้องกับอิสลาม ผู้ดำเนินการควรต้องให้มีผู้รู้/นักการศาสนา ฯลฯ เข้าร่วมเสวนา/ แสดงความคิดเห็นด้วย มิใช่นำเสนอโดยนักวิจัย/วิเคราะ/หรีอผู้รู้อิสลามแต่เพียงผิวเผิน มานั่งตอบคำถามหรือแสดงความเห็นที่ไม่ละเอียด ไม่ชัแจน ไม่ครอบคลุมรอบด้าน อันเป็นเหตุให้มีความเข้าใจและเผยแผ่ไป อย่างไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน… สำนักจุฬาราชมนตรี มูลนิธิ/สถาบันสันติชน ช่องโทรทัศน์ยาตีม ช่องโทรทัศน์ไวท์แชนนอล มูลนิธิศูนย์กลามอิสลามฯ เป็นต้น ….เหล่านี้ มีนักวิชาการด้านอิสลามมากมายที่จะให้ความกระจ่างได้ดีกว่า และเป็นความรู้ที่ผู้ชม ฟัง อ่าน ได้อย่าง เข้าใจถ่องแท้ โดยเข้าใจคำสอนอิสลามอย่างเป็นสัจธรรม วัสลาม
หากจะคุยเรื่องอิสลาม ไม่ว่าใบบริบทใด ผู้จัดควรต้องให้ผู้รู้/นักการศาสนา เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นด้วย เพื่อความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง ตามวิถีอิสลาม โดยจะขอไปยังสำนักจุฬาราชมนตรี จะสะดวกที่สุด แด่อาจารย์ชัยวัฒน์ก็ใช้ได้อยู่ มีความรู้ดีครับ
ผมไม่เห็นงงกับคำว่า รัฐ ที่อาจารย์ให้ความหมายเลย ผมว่าประเด็นกำเนิดของรัฐไทยที่ชินหูบ่อยๆ และเห็นภาพชัดก็เคส อ.ธงชัย อะครับ
งูๆปลาๆบราๆๆๆครับ
เอกชัย หงส์กังวาน
ตอนนี้ไปเป็นฤาษีแล้ว
พี่กนกนัย ความรู้ยังแน่นเหมือนเดิม
คนที่เก่งภาษาจีนและปรัชญาจีน(โบราณ) ปัจจุบันเริ่มผลิตผลงานออกมาให้เห็นบ้างแล้วครับ แต่ หนังสือของเขาไม่จำหน่ายตามร้านต้องจองส่วนตัวครับ
พูดจาน้ำท่วมทุ่ง ฟังไม่รู้เรื่อง
คัมภีร์พระไตรปิฎก นับตามประวัติศาสตร์สากล มีลายลักษณ์อักษร พระเจ้าอโศกมหาราช ประสูติปี พ.ศ. 270 - สิ้นพระชนม์ พ.ศ.311 หรือ ก่อน ค.ศ. 268 - 232 ปีก่อน ค.ศ. ดังนั้น คัมภีร์พระไตรปิฎกเล่มแรกของโลก ควรจะอยู่ในช่วงเวลา ตั้งแต่ พ.ศ. 290 เป็นต้นไป หรือเก่าแก่สุดประมาณ 2,275 ปีก่อน โดยพระสงฆ์ที่มาประชุมกันโดยนัดหมาย
การบันทึกลายลักษณ์อักษรเพื่อสังคายนาครั้งแรกในโลก (หรือ สังคายนาครั้งที่ ๓) ทำเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔ ใช้เวลา 9 เดือน หรือ เมื่อ 2,331 ปี ล่วงมาแล้ว สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ขณะที่บันทึกของชาวกรีก เกี่ยวกับปรัชญาครั้งแรกโดยอริสโตเติล (อาจารย์ของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช) เกิดในช่วง 384-322 ปีก่อนคริสตกาล มีอาจารย์สอนปากเปล่า คือโสเครติส ซึ่งโสเครติสไม่ได้จดบันทึกแต่ประการใด ขณะที่ บันทึก" คัมภีร์จวงจื่อ" โดย นักปราชญ์ จวงจื้อ มีชีวิตระหว่าง 369 ปี ก่อน ค.ศ. หรือ 2,391 ปีล่วงมาแล้ว และละสังขารให้กับธรรมชาติเมื่อ 286 ก่อน ค.ศ. หรือ 2,308 ปีลวงมาแล้ว
น่าจะยาวกว่านี้ ฟังไม่รู้เรื่อง
พิธีกรจะหลับละมั้ง
การนอนหลับคือความตายชนิดหนึ่งแม้แต่เทพเซียนพระเป็นเจ้าก็ยังไม่รู้ครับ
(เป็นสมมุตติฐานส่วนบุคลครับ)การนอนหลับอาจคือความตายชนิดหนึ่งยกตัวอย่างเช่นรถจะจอดเพราะพังไปแล้ว(สมองตายหรือหัวใจหยุดเต้น)หรือจอดไว้และสามารถสตาร์ใช้อีกครั้งได้(หลับและตื่น)ก็ถือว่าดับ(ตายหรือตัวตนดับ)เหมือนกันเพียงแต่ถ้าจอดไว้และสตาทต่อได้เหมือนกับไม่ตายแต่จริงๆแล้วตายเพราะคนที่หลับไปและตื่นขึ้นมาถือเป็นการตายและเกิดคนที่หลับไปคือตายถึงจะตื่นมาได้ก็ถือเป็นอีกคนหนึ่ง
หนังสือปรัชญา อ่านยากจริงครับ .
การนอนหลับคือความตายชนิดหนึ่งแม้แต่เทพเซียนพระเป็นเจ้าก็ยังไม่รู้ครับ
มันอ่านยาก นี่ขนาดภาษาไทย ยิ่งภาษาอังกฤษยิ่งอ่านยากใหญ่เลย --- บางทีก็คิดนะว่า เราอาจจะฉลาดน้อยเกินไผที่จะเข้าใจมันหรือเปล่านะ ถ้าเทียบกับวิชาอื่น ปรัชญาเป็นวิชาที่ยากเย็นที่สุด
ปัจจุบันหนังสือยังมีขายอยู่ไหมครับหาซื้อได้ที่ไหนได้บ้างครับ
หนูเชื่อว่า หนังสืออาจารย์ขายออก เพราะหนูนี่แหละ จะซื้อหนังสืออาจารย์อ่าน
การนอนหลับคือความตายชนิดหนึ่งแม้แต่เทพเซียนพระเป็นเจ้าก็ยังไม่รู้ครับ
ไม่ใช่ผู้ชายตั้งกฎ.. แต่ใช่กับทุกคน
จะรู้จริงต้องถามผู้รู้อิสลามจริงๆ
43:27 Negri’s books.
MC พูดนิ่มๆ กว่านี้ได้ไหม แสบหู
แสบจริงครับ เสียงโดดมาเลย
ขอชื่นชมคุณฐนพงศ์เล่าเรื่องเพลินมากครับ เหมือนเพื่อนมาเล่าเรื่องที่ไปเจอมาให้ฟัง แถมยังมี sense ของความเป็นครูที่ดีอีก ที่แนะนำแต่ละจุดๆ งงตรงไหนก็อธิบายให้เห็นภาพง่ายขึ้น เคลียร์ในแต่ละมุมมอง ไม่มีการเอาความรู้ของตัวเองมาข่ม, เกทับคนอื่น หรือแบบไม่ใช่ที่ชอบไล่คนอื่นให้ไปอ่านงานชิ้นนี้ก่อนนะ ประมาณว่าคุณต้องมีความรู้ background ในเรื่องนี้พอสมควรก่อนนะ คุณถึงค่อยมาถามผมใหม่ แบบที่อาจารย์พวกสาขาปรัชญาการเมือง, ทฤษฎีการเมืองที่ชอบเป็นกัน
จริงๆ ก็ควรอ่านศึกษา มาก่นเป็นหลักอยู่แล้ว เพราะเวลามาถามก็จะถามแบบสับสน อย่าไปคิดว่า อยู่ๆแล้วมาถาม มันไม่ใช่คับ