Biology IPST
Biology IPST
  • 135
  • 1 234 983
โปรตีนในสิ่งมีชีวิต
แอนิเมชันเกี่ยวกับโปรตีนในสิ่งมีชีวิต โปรตีนมีหลากหลายชนิด แต่ละชนิดมีลำดับของการเรียงตัวและชนิดกรดแอมิโนแตกต่างกันทำให้มีโครงสร้างต่างกันซึ่งส่งผลต่อหน้าที่ของโปรตีนแต่ละชนิด
เพื่อใช้ประกอบเนื้อหาบทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จัดทำโดย สสวท.
หมายเหตุ: มีคลิปแยกแต่ละโปรตีนให้เลือกชมหรือนำไปใช้ในแชแนล
มุมมอง: 301

วีดีโอ

โปรตีนในสิ่งมีชีวิต : โปรตีนลำเลียง
มุมมอง 2538 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับโปรตีนลำเลียง เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่ลำเลียงสาร ซึ่งช่วยควบคุมชนิดและปริมาณของสารที่เข้าหรือออกจากเซลล์ เพื่อใช้ประกอบเนื้อหาบทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จัดทำโดย สสวท.
โปรตีนในสิ่งมีชีวิต : โปรตีนสะสม
มุมมอง 958 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับโปรตีนสะสม เป็นสารอาหารสะสมพบได้ในไข่ขาว เช่น ออวัลบูมิน และพบในไข่แดง เช่น ไวเทลลิน ซึ่งช่วยในการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ เพื่อใช้ประกอบเนื้อหาบทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จัดทำโดย สสวท.
โปรตีนในสิ่งมีชีวิต : โปรตีนที่เป็นเอนไซม์
มุมมอง 1128 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับเอนไซม์ เป็นโปรตีนทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ เช่น อะไมเลส เพื่อใช้ประกอบเนื้อหาบทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จัดทำโดย สสวท.
โปรตีนในสิ่งมีชีวิต : โปรตีนตัวรับ
มุมมอง 1378 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับโปรตีนตัวรับ พบได้บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์และภายในเซลล์ โปรตีนตัวรับทำหน้าที่ตอบสนองต่อสารเคมีที่มากระตุ้นอย่างจำเพาะ เช่น โปรตีนตัวรับที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาททำหน้าที่รับสารสื่อประสาท โปรตีนตัวรับที่เซลล์เป้าหมายของฮอร์โมนทำหน้าที่จับกับฮอร์โมน เพื่อใช้ประกอบเนื้อหาบทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จัดทำโดย สสวท.
โปรตีนในสิ่งมีชีวิต : โปรตีนโครงสร้าง
มุมมอง 1578 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับโปรตีนโครงสร้าง ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของเซลล์ ทำให้เซลล์แข็งแรงและคงรูปได้ เช่น คอลลาเจนในเอ็นยึดกระดูก แอกทินและไมโอซินในกล้ามเนื้อ เคราทินในผม เพื่อใช้ประกอบเนื้อหาบทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จัดทำโดย สสวท.
โปรตีนในสิ่งมีชีวิต : โปรตีนเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน
มุมมอง 1008 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับโปรตีนเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน เช่น แอนติบอดี หรืออิมมูโนโกลบูลิน แอนติบอดีสร้างจากเซลล์พลาสมา ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมหรือแอนติเจนที่เข้าสู่ร่างกาย เพื่อใช้ประกอบเนื้อหาบทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จัดทำโดย สสวท.
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน : ปลาหมอคางดำ (Sarotherodon melanotheron)
มุมมอง 2.3K8 หลายเดือนก่อน
วีดิทัศน์เกี่ยวกับผลกระทบของการระบาดของปลาหมอคางดำต่อระบบนิเวศและต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน รวมถึงมาตรการการควบคุมและกำจัดปลาหมอคางดำโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : การอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม
มุมมอง 3318 หลายเดือนก่อน
ตัวอย่างการอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างแรกคือ กลุ่มอนุรักษ์ลำพูบางกระสอบที่คุ้งบางกระเจ้า ได้มีการอนุรักษ์ต้นลำพูให้เป็นที่อยู่อาศัยของหิ่งห้อย และพรรณไม้ชายเลนอื่น ๆ ตัวอย่างที่สองคือ วัดจากแดงที่คุ้งบางกะเจ้า ได้มีแนวทางการกำจัดขยะโดยใช้หลักอิทธิบาท 4
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : สวนศรีนครเขื่อนขันธ์
มุมมอง 1378 หลายเดือนก่อน
การจัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศที่สวนศรีนครเขื่อนขันธ์ มีการจัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ที่มีทั้งข้อมูลทางวิชาการ และเน้นรู้จักใช้ประโยชน์จากป่า รู้คุณค่าและรักษาสิ่งแวดล้อม จากปราชญ์ท้องถิ่นและภูมิปัญญาของชุมชน เช่น เรียนรู้พืชที่จะนำมาเป็นอาหาร ประโยชน์ของป่าจาก ศึกษาพันธุ์ไม้ ย้ายชำกล้าไม้
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : คุ้งบางกะเจ้า
มุมมอง 2078 หลายเดือนก่อน
หลักการที่ทำให้พื้นที่คุ้งบางกะเจ้าเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การโคลนยีนเพื่อสร้างแบคทีเรียเรืองแสง
มุมมอง 6438 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับการสร้างแบคทีเรียเรืองแสงด้วยการใช้พลาสมิดของแบคทีเรีย
ใบไมยราบกางและหุบได้อย่างไร
มุมมอง 7798 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับการตอบสนองแบบแนสติกมูฟเมนต์ของการของกางใบและหุบใบไมยราบ
ไบโอมบนบก
มุมมอง 3.3K8 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับไบโอมบนบกชนิดต่าง ๆ และตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่พบในแต่ละไบโอม
การปรับตัวของหมีขั้วโลก
มุมมอง 9188 หลายเดือนก่อน
แอนิเมชันเกี่ยวกับการปรับตัวเชิงวิวัฒนาการของหมีขั้วโลกที่ทำให้หมีขั้วโลกอาศัยอยู่ในบริเวณหนาวเย็นแถบขั้วโลกเหนือได้
ศัพท์พันธุศาสตร์น่ารู้
มุมมอง 8328 หลายเดือนก่อน
ศัพท์พันธุศาสตร์น่ารู้
โควิด19 ทำลายปอดได้อย่างไร
มุมมอง 2168 หลายเดือนก่อน
โควิด19 ทำลายปอดได้อย่างไร
เส้นทางแห่งความเจ็บปวด (การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์)
มุมมอง 3078 หลายเดือนก่อน
เส้นทางแห่งความเจ็บปวด (การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์)
RAAS กับการทำงานของไต (renin-angiotensin-aldosterone system)
มุมมอง 1.8K8 หลายเดือนก่อน
RAAS กับการทำงานของไต (renin-angiotensin-aldosterone system)
การสร้างแบคทีเรียเรืองแสง
มุมมอง 4058 หลายเดือนก่อน
การสร้างแบคทีเรียเรืองแสง
ATK ทำงานอย่างไร
มุมมอง 2158 หลายเดือนก่อน
ATK ทำงานอย่างไร
วัฏจักรไนโตรเจนในมหาสมุทร
มุมมอง 5018 หลายเดือนก่อน
วัฏจักรไนโตรเจนในมหาสมุทร
การสร้าง ATP จากการหายใจระดับเซลล์ คำนวณได้ไหมนะ ?
มุมมอง 2908 หลายเดือนก่อน
การสร้าง ATP จากการหายใจระดับเซลล์ คำนวณได้ไหมนะ ?
การย่อยคาร์โบไฮเดรต
มุมมอง 1.9K8 หลายเดือนก่อน
การย่อยคาร์โบไฮเดรต
การสังเคราะห์ด้วยแสงกับการหายใจระดับเซลล์
มุมมอง 2128 หลายเดือนก่อน
การสังเคราะห์ด้วยแสงกับการหายใจระดับเซลล์
แหล่งที่อยู่ ระบบนิเวศ และไบโอม แตกต่างกันอย่างไร
มุมมอง 9738 หลายเดือนก่อน
แหล่งที่อยู่ ระบบนิเวศ และไบโอม แตกต่างกันอย่างไร
การย่อยลิพิด
มุมมอง 1.3K8 หลายเดือนก่อน
การย่อยลิพิด
การย่อยโปรตีน
มุมมอง 2.7K8 หลายเดือนก่อน
การย่อยโปรตีน
Random Genetic Drift ในแมลงหวี่
มุมมอง 2598 หลายเดือนก่อน
Random Genetic Drift ในแมลงหวี่
แก้โจทย์ปัญหา ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก
มุมมอง 1.3K8 หลายเดือนก่อน
แก้โจทย์ปัญหา ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก