- 899
- 403 671
เศรษฐกิจการเกษตรเพื่อประชาชน สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
เข้าร่วมเมื่อ 23 ม.ค. 2013
สศท.8 ลงพื้นที่ถอดบทเรียนวิสาหกิจชุมชนบ้านเขานาใน ตำบลต้นยวน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สศท.8 ลงพื้นที่ถอดบทเรียนวิสาหกิจชุมชนบ้านเขานาใน ตำบลต้นยวน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี
มุมมอง: 14
วีดีโอ
ภาพรวมเศรษฐกิจการเกษตรในปี 2567 และทิศทางการพัฒนาภาคเกษตรไทย
มุมมอง 432 วันที่ผ่านมา
รับชมการสัมภาษณ์ นายวินิต อธิสุข รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร “ ภาพรวมเศรษฐกิจการเกษตรปี 2567 และทิศทางการพัฒนาภาคเกษตรไทย” ในรายการ ร้อยเรื่องราววาไรตี้ ทาง ททบ.5 วันที่ 31 ตุลาคม 2567 เวลา 15.00 น.
สศท.6 ศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของลำไม้ไผ่แช่น้ำยา จังหวัดชลบุรี
มุมมอง 82 วันที่ผ่านมา
สศท.6 ศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของลำไม้ไผ่แช่น้ำยา จังหวัดชลบุรี
สศท.3 ร่วมอบรม INAHOR ส่งเสริมพื้นที่ปลูกข้าวและประมาณการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีอวกาศในประเทศไทย
มุมมอง 1014 วันที่ผ่านมา
สศท.3 ร่วมอบรม INAHOR ส่งเสริมพื้นที่ปลูกข้าวและประมาณการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีอวกาศในประเทศไทย
กองทุน FTA ติดตามโครงการปรับโครงสร้างสินค้ากาแฟแบบครบวงจร จ.ระนอง กันยายน 2567
มุมมอง 414 วันที่ผ่านมา
กองทุน FTA ติดตามโครงการปรับโครงสร้างสินค้ากาแฟแบบครบวงจร จ.ระนอง กันยายน 2567
กองทุน FTA ติดตามโครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตกาแฟของกลุ่มเกษตรกรทำสวนเขาทะลุ จ.ชุมพร กันยายน 2567
มุมมอง 814 วันที่ผ่านมา
กองทุน FTA ติดตามโครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตกาแฟของกลุ่มเกษตรกรทำสวนเขาทะลุ จ.ชุมพร กันยายน 2567
จับตา GDP เกษตร Q3 หดตัวร้อยละ 0.7
มุมมอง 1714 วันที่ผ่านมา
รับฟังการสัมภาษณ์ทาง โทรศัพท์ นางสาวตาปี วัชรางกูร ผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายระบบเศรษฐกิจการเกษตร “จับตา GDP เกษตร Q3 หดตัวร้อยละ 0.7” ในรายการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน ช่วง เจาะเศรษฐกิจ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 เวลา 10.15 - 10.30 น.
ภาพรวมเศรษฐกิจการเกษตรปี 2567 และทิศทางการพัฒนาภาคเกษตรไทย
มุมมอง 6614 วันที่ผ่านมา
วันที่ 28 ตุลาคม 2567 เวลา 08.30 - 08.40 น. รับฟังการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ นายวินิต อธิสุข รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร “ภาพรวมเศรษฐกิจการเกษตรปี 2567 และทิศทางการพัฒนาภาคเกษตรไทย” ในรายการ บันทึกสถานการณ์ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
สศท.7ติดตามโครงการต่อยอดบริเวณพื้นที่โครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าสักอันเนื่องมาจากพระราชดำริปี 66 จ.ลพบุรี
มุมมอง 214 วันที่ผ่านมา
สศท.7ติดตามโครงการต่อยอดบริเวณพื้นที่โครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าสักอันเนื่องมาจากพระราชดำริปี 66 จ.ลพบุรี
ลุยจัดทำข้อมูลพื้นฐานสินค้าเกษตรครอบคลุมทั้งประเทศ
มุมมอง 6621 วันที่ผ่านมา
ขอเชิญรับฟังการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ดร.กฤช เอี่ยมฐานนท์ ผู้อำนวยการศูนย์สารสนเทศการเกษตร “ลุยจัดทำข้อมูลพื้นฐานสินค้าเกษตรครอบคลุมทั้งประเทศ” ในรายการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน ช่วง ทำมาหากิน สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม 2567 เวลา 10.45 - 11.00 น.
สศท.9 ติดตามผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.สงขลาและพัทลุง
มุมมอง 1021 วันที่ผ่านมา
สศท.9 ติดตามผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.สงขลาและพัทลุง
ศปผ. ติดตามโครงการส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์และแมลงศัตรูธรรมชาติทดแทนสารเคมีทางการเกษตรปี 2567
มุมมอง 4528 วันที่ผ่านมา
ศปผ. ติดตามโครงการส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์และแมลงศัตรูธรรมชาติทดแทนสารเคมีทางการเกษตรปี 2567
ผลการดำเนินงาน 1 ปี สศก. ปีงบประมาณ พ.ศ.2567
มุมมอง 69หลายเดือนก่อน
ผลการดำเนินงาน 1 ปี สศก. ปีงบประมาณ พ.ศ.2567
"แนวโน้มเศรษฐกิจเกษตรโลกและไทย ปี 2025" ในงาน ฟาร์ม เอ๊กซ์โป 2024
มุมมอง 1Kหลายเดือนก่อน
เลขาธิการ สศก. ร่วมเป็นวิทยากรบรรยาย "แนวโน้มเศรษฐกิจเกษตรโลกและไทย ปี 2025" งาน ฟาร์ม เอ๊กซ์โป 2024 วันที่ 3 ตุลาคม 2567 นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ร่วมเป็นวิทยากรบรรยาย หัวข้อ "แนวโน้มเศรษฐกิจเกษตรโลกและไทย ปี 2025" ในงาน ฟาร์ม เอ๊กซ์โป 2024 พลิกโฉมมหกรรมการเกษตรไทย ณ ศูนย์แสดงสินค้า ไบเทค บางนา-ตราด #farmexpo #farmexpo2024 #farmexpothailand #agrithon #ฟาร์มเอ็กซ์...
ก้าวสู่ 21 ปี กองทุน FTA ภาคเกษตร สู่โอกาสตลาด
มุมมอง 58หลายเดือนก่อน
ก้าวสู่ 21 ปี กองทุน FTA ภาคเกษตร สู่โอกาสตลาด
สศท. 6 ศึกษาการตัดสินใจของเกษตรกรในการลดการเผาวัสดุเหลือใช้จากการทำนาข้าว จ.ปราจีนบุรี และนครนายก
มุมมอง 25หลายเดือนก่อน
สศท. 6 ศึกษาการตัดสินใจของเกษตรกรในการลดการเผาวัสดุเหลือใช้จากการทำนาข้าว จ.ปราจีนบุรี และนครนายก
ก้าวสู่ 21 ปี กองทุน FTA ภาคเกษตร สู่โอกาสตลาดการค้าเสรี
มุมมอง 75หลายเดือนก่อน
ก้าวสู่ 21 ปี กองทุน FTA ภาคเกษตร สู่โอกาสตลาดการค้าเสรี
สศท.9 ตรวจสอบข้อมูลการแปลและข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ข้าวนาปี ปีเพาะปลูก ยางพารา และปาล์มน้ำมัน
มุมมอง 42หลายเดือนก่อน
สศท.9 ตรวจสอบข้อมูลการแปลและข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ข้าวนาปี ปีเพาะปลูก ยางพารา และปาล์มน้ำมัน
สศท.3 จัดประชุม Focus Group โครงการถอดบทเรียนป่าเศรษฐกิจครอบครัว จ.สกลนคร
มุมมอง 12หลายเดือนก่อน
สศท.3 จัดประชุม Focus Group โครงการถอดบทเรียนป่าเศรษฐกิจครอบครัว จ.สกลนคร
สัมมนา Project Matching Connecting Opportunities พัฒนาเครือข่ายเกษตรพันธมิตรสู่โอกาสตลาดการค้าเสรี
มุมมอง 14หลายเดือนก่อน
สัมมนา Project Matching Connecting Opportunities พัฒนาเครือข่ายเกษตรพันธมิตรสู่โอกาสตลาดการค้าเสรี
ขั้นตอนการวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรระดับพื้นที่ โดย สศท.11
มุมมอง 11หลายเดือนก่อน
ขั้นตอนการวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรระดับพื้นที่ โดย สศท.11
สศท.5 จัด Focus Group แนวทางพัฒนาเกษตรอินทรีย์รายสินค้าระดับพื้นที่รายสินค้า กรณีขมิ้นชัน จ.สุรินทร์
มุมมอง 13หลายเดือนก่อน
สศท.5 จัด Focus Group แนวทางพัฒนาเกษตรอินทรีย์รายสินค้าระดับพื้นที่รายสินค้า กรณีขมิ้นชัน จ.สุรินทร์
ศปผ. ติดตามโครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น กรณี สินค้า ทุเรียน จ.ระยอง
มุมมอง 13หลายเดือนก่อน
ศปผ. ติดตามโครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น กรณี สินค้า ทุเรียน จ.ระยอง
สศท. 7 ศึกษาสินค้าทางเลือกที่มีศักยภาพทดแทนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม กรณีศึกษาสินค้าถั่วเขียว
มุมมอง 47หลายเดือนก่อน
สศท. 7 ศึกษาสินค้าทางเลือกที่มีศักยภาพทดแทนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม กรณีศึกษาสินค้าถั่วเขียว
เกษตรฯ ดันนโยบาย Service Provider สำเร็จ เตรียมเปิดขึ้นทะเบียนเกษตรกรประกอบกิจการด้านการเกษตร
มุมมอง 155หลายเดือนก่อน
เกษตรฯ ดันนโยบาย Service Provider สำเร็จ เตรียมเปิดขึ้นทะเบียนเกษตรกรประกอบกิจการด้านการเกษตร
เกษตรฯ ดันนโยบาย Service Provider สำเร็จ เตรียมเปิดขึ้นทะเบียนเกษตรกรประกอบกิจการด้านการเกษตร
มุมมอง 422 หลายเดือนก่อน
เกษตรฯ ดันนโยบาย Service Provider สำเร็จ เตรียมเปิดขึ้นทะเบียนเกษตรกรประกอบกิจการด้านการเกษตร
สศท. 6 รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกของปี 2567 และแนวโน้มปี 2567 ภาคตะวันออก
มุมมอง 372 หลายเดือนก่อน
สศท. 6 รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกของปี 2567 และแนวโน้มปี 2567 ภาคตะวันออก
สศท.3 ติดตามโครงการศูนย์พัฒนาปศุสัตว์ ตามพระราชดำริ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย
มุมมอง 182 หลายเดือนก่อน
สศท.3 ติดตามโครงการศูนย์พัฒนาปศุสัตว์ ตามพระราชดำริ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย
การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ต้องมีคู่เทียบไหมครับ
ฝันไปว่าเกษตรกร รวยแล้ว
ช่วยจัดให้มีสถานที่ขายติดทางหลวงตามตำบลต่างๆ เพื่อให้นักท่องเที่ยว ผู้สัญจรผ่านไปมาแวะซื้อของ จะได้มีกำลังใจในการปลูก
คนปลูก (ข้าว) คงไม่สามารถผลิตเครื่องสำอางด้วยได้ พืชตัวอื่นทำเป็นมูลค่าเพิ่มจะง่ายกว่า
นี่ละครับของแทร่ ขรก.ไทย พูดไปเรื่อยตามนาย สิ้นปีได้ 2 ขั้น ภาคปฏิบัติไม่มี ของจริงต้องลงสนาม จะเห็นว่ามันต่างจากความฝัน หรือทฤษฎีโก้ ๆ ที่ลูกน้องเขีบนบทให้พูดหลอกชาวบ้าน
นาที 33:02 ข้อ 1 ไม่มีการพัฒนาแหล่งน้ำเว้ย มีแค่บริหารแหล่งน้ำที่มีอยู่(irrigation มีไม่ถึง 10%ของทั้งประเทศ)ให้มีประสิทธิภาพ
จัดแหล่งน้ำให้เพียงพอ เดี๋ยวเขาหาปลูกของเอง
สิ่งที่พูดคือ คนทีทำงานทีผ่านมาคือ คนอายุ50-70 ปีตอนนี้ผมทำงานมามากตอนนี้ 64 ปีแล้วทำเลี้ยงคนทั่วโลก ตอนนี้ทำไม่ไหวแล้ว เงินก็ไม่มีๆ ก็600 บาทครับจะให้สัก1000ก็ไม้ให้
ฝากถามทีนะครับ เจ้าของ ชื่อ เสกสรรค์ ไรนุ่น แล้วขึ้นไปนั่นใครครับ 55555
NamPloy soprom
ในหน้าฝน ผู้ที่ได้รับผลกระทบ คือแรงงานชั่วคราว รับจ้างไม่ประจำ ไปจนถึงประมง หากมีมาตราการ รวมงาน เพื่อจัดสรรในพื้นที่ เพื่อมีรายได้ และกองทุนไห่กู้ดอกเบี้ยต่ำ จากสหกรณํฯลฯ เช่นกองทุนหมู่บ้าน
ปาล์มทำลายความหลากหลายทางชีวภาพสูงกว่า กินธาตุอาหารเร็ว ดินเสื่อม ไม่ใส่ปุ๋ยก็ไม่ได้อีก ทำลายโลกสูง และทำลายภูมิปัญญาหมด คนปลูกปาล์ม ไม่ค่อยได้ใช้แรงทำเอง ต้องจ้างหมด การทำงานร่วมกันในครอบครัว น้อยมาก อันนี้ก้ผลเสียที่หลายคนมองไม่เห็น อนาคตน่าห่วง เพราะปลูกกันมากขึ้น ถ้าถั่วเหลืองถูกลง ปาล์มก็แพ้ได้อีก
ปีที่แล้ว ผลผลิตทะลายปาล์มน้ำมัน 18.27 ล้านตัน
พูดผิดไหมพื้นที่ปลูก หกล้านสี่หมื่นล้านไร่ มากไปไหมครับ น่าจะเป็น 6.4 ล้านไร่ไหมครับ
ขอแบบเกิน 5 แสนหน่อยค่ะท่าน
ถ้าลิ้นจี่ภาคอีสานจะเป็นพันธุ์นพ.1 ครับ เเต่ได้ยินมาว่าปีนนี้อากาศก็ไม่ค่อยดีเหมือนกัน ทำให้ลิ้นจี่ไม่ค่อยออกดอกหลับในหลายๆพื้นที่ของภาคอีสานครับ ส่วนทางเหนือเเถวฝางกับเเม่อาย ยังพอได้อยู่นะครับ
เกษตรแปลงใหญ่ในการใช้เครื่องมือทางการเกษตรมีขั้นตอนที่จะขึ้นทะเบียนได้ยากมากครับ
ประเทศไทยควรสร้างเขื่อนให้ครบทุกจังหวัดเพื่อมีน้ำใช้เพียงพอครับ
ระยะเวลาการขอGAPใช้เวลารอนานมากครับ
ชาวสวน ชาวไร่ เข้าไม่ถึงข้อมูลเชิงนโยบาย ขาดช่องทางการติดต่อสื่อสารกับเกษตรอำเภอครับ ทำอย่างไรเกษตรกรผู้ผลิต จะเป็นผู้กำหนดราคาจำหน่ายสินค้า ปัจจุบัน พ่อค้าเป็นผู้กำหนดราคาซื้อ ภาครัฐควรมีงบประมาณสนับสนุนเครื่องมือ เครื่องจักร ทางการเกษตร รวมถึงปุ๋ย สารกำจัดวัชพืช กำจัดแมลงศัตรูพืช ราคาถูก
มี code แจกให้ใช้งานฟรีไหมครับ ต้องการนำมาเป็นแนวทางการติดตามงานของหน่วยงาน เพื่อให้ หน.สามารถติดตามงานได้อย่างสะดวก และเพื่อเป็นการกุศล พอจะอนุเคราะห์สำเนาระบบให้ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดหนองบัวลำภู ไหมครับ ขอบคุณล่วงหน้าครับ
ใครที่ว่าประเทศเราไม่ดีๆ คงต้องลองตรวจสอบตัวเองดู ว่า เป็นส่วนหนึ่งของความไม่ดีที่ว่าด้วยรึเปล่า? / ประเทศไทยดีมากๆ แต่เพราะพวกเราเองต่างหาก / มาช่วยกัน ทำความสะอาดรัฐสภา และ บ้านเกิดเมืองนอน อันเป็นที่รักของพวกเรากันเสียทีเถิด
ขอบพระคุณรัฐบาลของท่านนายก พลเอก ประยุทธ จันทร์โอชาค่ะ ประเทศไทยพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปมากๆ ในช่วง 8-9 ปีที่ผ่านมา / นายกเศรษฐากับคณะ พูดได้ยังไง ว่า ถดถอย เศรษแถ เข้ามา 7 เดือน ไทยล้าหลังไป 100 ปี
มาฟังเพื่อเกบรายะเอียด
ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
ขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
ทรงพระเจริญ..ยิ่งยืนนาน..
ในหลวงของคนไทยทั้งแผ่นดิน..พ่อพระผู้มีแต่ให้คนไทยจงภาคภูมิใจที่มีในหลวงรัชกาลที่10..
เกษตรเกรดเอ
❤❤❤❤❤🎉
อธิบายดีมากๆคะ ..อยากสอบถามเพิ่มเติมว่า การสืบราคาเราต้องทำหนังสือถึงผู้ประกอบการใช่ไหมคะ แล้ววิธีเฉพาะเจาจงต้องสืบกี่ที่คะ (เหมือนe-bidding) มั้ยคะ
ต้องการนำมันสำปะหลังส่งออกไปประเทศจีน
บุรีรัมย์ปลูกได้ไหมครับ
th-cam.com/video/ut7GQty5MFA/w-d-xo.htmlsi=MoGheGiW_fs6RJAV
งานซ่อมบำรุงไม่เงินไม่เกินแสนต้องตั้งคณะกรรมการจัดซื้อจ้างหรือเปล่าคะ
Productivity พูดกันมา40ปีแล้วครับ ไม่ไปไหนซักที จีนทำสินค้าเกษตร มากขึ้น แต่ราคาต่ำลงทุกปี ประเทศจีน ขายทั้งสินค้าอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม ตีตลาดไทยและทั่วโลก ถ้าเรายังคิดยังทำแบบเดิม คงไปไม่รอด ที่ถูกคือรัฐต้องมีเป้าหมายแน่ชัดว่าจะเน้นประเทศไปอยู่ตรงไหนของตลาดโลก เน้นสินค้าที่มีความสามารถแข่งขันกับเขาได้ในระดับโลก ไม่ใช่ส่งเสริม ปลูกพืชมันทุกชนิดมั่วกันไปหมด
ในหลวง10,เดินตามพ่อหลวงและพระององวองอ
❤🎉❤😂❤😅❤😊
ติดตามครับ
อยากให้ราคาแพงขึ้นค่ะชาวสวนจะได้ไม่ขาดทุน
ท่านรองควรจะบอกตัวเลขเต็มนะ😊 กว่านี่ เท่าไหร่ เพราะเป็นเงินที่ประชาชน ควรได้รู้อย่างนะเอียดนะครับ ต้องวิจัย ทดรองแบบใหม่ๆ บ้างครับ อีกอย่างพื้นที่แห้งแล้ว ควรจะพัฒนา ปลูกพันธุ์ไม้ ที่ทนแล้ว ทุกจังหวัด เพื่อราคาแต่ละจังหวัดไม่เลื่อมลั้มกัน อย่างเช่นทุเรียน คนไทยบางคน ยังไม่มีเงินซื้อเลย เพราะเน้น ส่งออกอย่างเดียว ราคาในประเทศควรลดลงมาบ้าง เพื่อพี่น้องประชาชน จะได้บริโภคกันได้ ไม่ใช่มองทุเรียนแล้วไม่กล้าซื้อ ทั้งที่เป็นประเทศส่งออก 😊 ชาวเกษตรกรส่วนมากจะมีแต่คนรวย เกษตรกรคนจนจริงๆ สู้ราคาปุ๋ย และอื่นๆไม่ได้ ควรช่วยเหลือเกษตรกรตัวน้อยๆบ้าง ส่วนมากจะเอื้อประโยชน์ให้ราชการด้วยกัน หรือญาติๆกันเอง ควรลงไปช่วยเกษตรกรจริงๆ และงบไปไหนบ้าง ควร ดูชื่อ ตามชื่อจริงๆว่า ช่วยเหลือจริงๆ 😊 งบเยอะจริงๆ 😊 แต่ทำประโยชน์ แบบใหม่ขึ้นบ้างรึเปล่า ดูประเทศอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้ว อย่างเช่นอิสราเอล 😊 ส่งตัวแทนไปศึกษานวัตกรรมใหม่ไม่ใช้ในบ้านเราบ้าง ไปดูจีนว่าเขาทำยังไง เพื่อช่วยเหลือกันในวันข้างหน้า เราจะได้ขอความคิดเห็นจากเขาบ้าง😊
🇹🇭♥️ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน💛💜 ค่ะ
ขอเบอร์โทรผู้ใหญ่บ้าน ด้วยครับ
เป็นโครงการที่ดีครับ ขอบติดต่อฟาร์มโคนม ด้วยครับ
เยี่ยม
ผมดื่มเป็นประจำทุกวันครับกาแฟ
ทำได้จริงๆเถอะค่ะ อยากมีชีวิตที่ดีขึ้น เราพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนอยู่แล้ว ถ้าหากทำได้จริงๆ
สามจังหวัดภาคเหนือเชียงใหม่ เชียงราย พะเยากำลังจะสตาร์ทโครงการbcgด้วยการบังคับให้ปลูก ดอกดาวเรืองด้วยการใช้เคมี 100% มันถูกต้องไหม ช่วยตอบด้วยนะครับ
@@สมพงษ์โหลามนต์เขาจะให้ใช้เคมีหรือชีวภัณฑ์ ชีวภัณฑ์คือผลิตภัณฑ์ที่ ผลิตมาจากพืชและสัตว์ไม่เป็นอันตรายต่อคนและสิ่งแวดล้อม โดยออกมาในรูปของสารสกัด แต่เคมีก็ใช่จะไม่ดีแต่ต้องใช้ให้ถูกต้อง ใช้แล้วไม่เกิดการตกค้างของสารเคมีในพืชและสัตว์เพื่อผู้บริโภค ใช้ในการดูแลที่จำกัดและขจัดสารตกค้าง ปุ๋ยมี 4 แบบ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภัณฑ์ ปุ๋ยชีวภัณฑ์เคมี แต่ละอย่างก็มีประโยชน์แตกต่างกันเราต้องใช้ให้ถูกวิธีถูกเวลา ต้องดูด้วยว่าเขาส่งเสริมการปลูกเพื่ออะไร เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไม่ก่อให้เกิดสารเคมีที่มีพิษตกค้าง บางทีคนเราก็แยกไม่ออกนะ ชีวภัณฑ์ทางเคมีที่เขาเอามานั้นคือสารสกัดจากธรรมชาติที่เป็นพืชและสัตว์หรือสารสกัดจากเคมีทางธรรมชาติ ที่สกัดสารพิษออกแล้วหรือยัง❤❤❤ ถ้าวิธีนี้สถาบันวิจัยไทย วิจัยไทยรองรับว่า ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งคนและสัตว์ ไม่ทำลายระบบนิเวศ ก็อย่าลืมนะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพของไทยเราจะเน้นที่ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ดินน้ำอุดมสมบูรณ์ เราต้องศึกษาให้รอบคอบก่อนว่าชีวภัณฑ์ที่เขามาใช้นั้นที่ผ่านการรับรองจากสถาบันไทยหรือยัง นักวิจัยของไทยจะคิดค้นนวัตกรรม ชีวภัณฑ์ สกัดสารตกค้างออกก่อนเพื่อให้เกษตรกรได้ใช้ด้วยปลอดภัย ให้มั่นใจว่าชีวพันธ์ที่ใช้ จะไม่เกิดโทษ ถ้าเป็นของชีวภัณฑ์ที่วิจัยของจุฬาลงกรณ์ เขาจะทำเพื่อคนไทยจริงๆค่ะ เคมีภัณฑ์ก็เป็นเคมีภัณฑ์ที่ขจัดสารตกค้างออกไปแล้ว เอาจริงๆนะมั่นใจในสถาบันวิจัยของไทยมากกว่า สถาบันวิจัยของต่างประเทศอีก ถ้ารัฐสนับสนุนแล้วเห็นว่าเกษตรกรจะได้ประโยชน์ หรือทำแล้วได้กำไรก็ควรทำค่ะ แต่ก็ต้องถามรายละเอียดเขาให้แน่ชัดในชีวภัณฑ์ที่เอามาใช้ว่ามันไม่มีพิษไม่มีสารตกค้างจริงๆหรือเปล่า❤❤❤❤ สอบถามแล้วได้ผลยังไงก็ตอบมาด้วยนะคะก็อยากรู้เหมือนกันว่าสถาบันวิจัยไทยที่บอกว่าวิจัยเคมีภัณฑ์เพื่อสกัดสารสกัดตกค้างออกมีผลงานไปถึงไหนแล้ว❤❤❤😊😊😊😊
👏👍🤩
ใช้ได้จริงทำแล้วครับ
👍👍