ปกิณกะ สารพัน
ปกิณกะ สารพัน
  • 12
  • 2 151
คาถาบูชาพระแม่ธรณี
พระแม่ธรณี เทพีผู้ค้ำจุนโลก
“ก่อนจะทำอะไร ให้บูชาบอกกล่าวต่อพระแม่ธรณีก่อน”
คาถาบูชาพระแม่ธรณี
(ตั้ง นะโมฯ ๓ จบ)
ตัสสา เกษี สะโต ยะถา คงคา โสตัง ปะวัตตันติ
มาระเสนา ปฏิฐาตุง ปริมานานุภาเวนะ
มาระเสนา ปะราชิตา นิโสนิสัง ปาลายันติ
วิทังเสนติ อะเสสะโต สาธุ สาธุ สาธุ
สังขาตัง โลกังกะวิทู ตันติพุตติง
นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ
มุมมอง: 115

วีดีโอ

คาถาบูชา สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
มุมมอง 22414 วันที่ผ่านมา
คาถาบูชา สมเด็จโต พรหมรังสี (ตั้ง นโมฯ ๓ จบ) พรหมรังษี เมตตาบารมี จุติจุตัง อะระหัง จุตติ นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ จะภะกะสะ มะอะอุ มะอะอุ มะอะอุ ภะคะวา
อนุสรณ์สถาน "ขุนรองปลัดชู" และนักรบ ๔๐๐ คน ณ หาดหว้าขาว ต.อ่าวน้อย ประจวบคีรีขันธ์
มุมมอง 10721 วันที่ผ่านมา
อนุสรณ์สถาน "ขุนรองปลัดชู และนักรบ ๔๐๐ คน จากแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ" ี่ี่ี่ณ "หาดหว้าขาว" ทุ่งมะเม่า ต.อ่าวน้อย อ.เมือง ประจวบคีรีขันธ์ วีรกรรมขุนรองปลัดชู และเหล่าอาสาสมัครนักรบผู้กล้าทั้ง ๔๐๐ สังกัดกองอาทมาต จากแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ เข้ายั้งทัพพม่าที่มีกำลังพลราว 8,000 นาย โดยลำพัง จนเหล่าผู้กล้าทั้ง ๔๐๐ ต้องพลีชีพ ณ "หาดหว้าขาว" ทุ่งมะเม่า ต.อ่าวน้อย อ.เมือง จ. ประจวบคีรีขันธ์
พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ ค่ายตากสิน จันทบุรี
มุมมอง 10521 วันที่ผ่านมา
พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ ค่ายตากสิน จ. จันทบุรี
คาถา "เย ธมฺมา" (หัวใจพระพุทธศาสนา)
มุมมอง 24021 วันที่ผ่านมา
คาถา "เย ธมฺมา" ถือเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา "เย ธมฺมา เหตุ ปัพฺพวา เตสํ เหตุงฺ ตถาคโต เตสญฺจะ โย นิโรโธ จะ เอวํ วาที มหาสมฺโณ" คำแปล "ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตเจ้าทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้"
รังต่อหัวเสือ ขนาดใหญ่บนพื้นดิน
มุมมอง 21328 วันที่ผ่านมา
รังต่อหัวเสือ ขนาดใหญ่บนพื้นดิน
ถนนสายวัฒนธรรมสู้ศึก ประจวบฯ
มุมมอง 117หลายเดือนก่อน
ถนนสายวัฒนธรรมสู้ศึก ประจวบฯ วันอาทิตย์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2563
พระธาตุ ณ วัดสันป่ายางหลวง ลำพูน
มุมมอง 121หลายเดือนก่อน
พระธาตุ ณ วัดสันป่ายางหลวง ลำพูน
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เชียงใหม่
มุมมอง 132หลายเดือนก่อน
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร จ.เชียงใหม่ ตั้งอยู่ บนถนนพระปกเกล้า ต.พระสิงห์ เป็นที่ประดิษฐานเจดีย์องค์ใหญ่ที่สุด สร้างขึ้นในรัชกาลพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย (พ.ศ. 1913-1954) และอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานระหว่าง พ.ศ. 2011-2091 นานถึง 80 ปี . . .