- 73
- 136 753
pornsawan amornsakchai
เข้าร่วมเมื่อ 22 ม.ค. 2012
เป็นการเผยแพร่เพื่อการศึกษา
วีดีโอ
การทดลอง การไทเทรตกรด-เบส
มุมมอง 17K3 ปีที่แล้ว
ปฏิบัติการเคมีเรื่อง การไทเทรตกรด-เบส มีวัตถุประสงค์ในการสาธิตการไทเทรตกรดเบส ความหมายของ Ca และ Cb ความความเข้มข้นของสารละลายกรดและเบส ตามลำดับ ด้วยใช้ตัว a = acid และ b = base คลิปวีดีโอนี้จัดทำโดยนางสาวสิตานันท์ รุ่งพรหมประทาน นักศึกษาสาขาออกแบบสื่อดิจิทัล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มทร. รัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโปรเจคจบ จัดทำเมื่อปี 2563
การทดลองสมดุลเคมี
มุมมอง 2.6K3 ปีที่แล้ว
เป็นการสาธิตการทำการทดลองเรื่องสมดุลเคมี สำหรับวิชาปฏิบัติการเคมีของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิศวกรรมศาสตร์ และสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ซึ่งนักศึกษาต้องสังเกตผลการทดลอง เช่นการเปลี่ยนแปลงของสีของสารละลายที่เตรียมได้ และเปรียบเทียบสีที่ได้ ในส่วนของการคำนวณ อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติจะอธิบายแยกจากคลิปนี้
การทดลอง การหาค่าคงที่ของแก๊ส
มุมมอง 4.1K3 ปีที่แล้ว
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสาธิตการทำการทดลอง ในการแทนที่น้ำด้วยแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งจะทำให้สามารถหาค่าคงที่ของแก๊ส (R) โดยอาศัยความสัมพันธ์ของความดัน ปริมาตร อุณหภูมิ และจำนวนโมล นอกจากนี้นักศึกษายังนำผลการคำนวณที่ได้ของค่า R ไปเปรียบเทียบค่าจริง
การเตรียมและการทำมาตรฐานสารละลายกรด-เบส
มุมมอง 3.6K3 ปีที่แล้ว
การทดลองนี้เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์สำหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงวิธีการเตรียมสารละลายมาตรฐาน และการไทเทรตเพื่อหาความเข้มข้นที่แน่นอนของสารละลาย NaOH ด้วย KHP โดยนักศึกษาต้องจดบันทึกน้ำหนักของ KHP ที่ชั่งได้ เพื่อไปหาความเข้มข้น และจดบันทึกปริมาตรของสารละลาย NaOH ที่ใช้ในการไทเทรต โดยทุกครั้งปริมาตรเริ่มต้นที่ 0.00 mL
การปรับเทียบอุปกรณ์วัดปริมาตร
มุมมอง 7423 ปีที่แล้ว
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อหาปริมาตรที่แน่นอนของปริมาตรจากปิเปตขนาด 10 mL และ 20 mL 2. เพื่อหาความเที่ยง (precision) ในการวัดปริมาตรของปิเปต 3. เพื่อหาปริมาตรของขวดวัดปริมาตรขนาด 100 mL และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรนี้กับปริมาตรที่ได้จากปิเปตขนาด 10 mL เป็นส่วนหนึ่งของวิชาปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์สำหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
การทดลองเรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์
มุมมอง 3.9K3 ปีที่แล้ว
เป็นการสาธิตการทำแลป มีวัตถุประสงค์ในเพื่อให้นักศึกษานำข้อมูลของน้ำหนักตะกอนที่ได้ไปหาความสัมพันธ์ของปริมาณสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ในปฏิกิริยา และการคำนวณหาปริมาณสารตามหลักปริมาณสารสัมพันธ์ โดยมีรายละเอียดในคู่มือปฏิบัติการเคมีทั่วไป สำหรับนักศึกษาชั้นปี 1 สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. รัตนโกสินทร์ 00:00 เริ่มต้น 00:05 การชั่งนำหนักโซเดียมคาร์บอเนต 00:31 น้ำหนักของโซเ...
4. ความสามารถการผ่านเซลโลเฟนของสารต่างชนิด
มุมมอง 6K3 ปีที่แล้ว
เพื่อให้นักศึกษาสังเกตความสามารถของการผ่านกระดาษเซลโลเฟนของสารที่มีอนุภาคต่างกัน
3. ความสามารถการผ่านกระดาษกรองของสารต่างชนิด
มุมมอง 3.9K3 ปีที่แล้ว
เพื่อให้นักศึกษาสังเกตความสามารถการผ่านกระดาษกรองของสารที่มีขนาดอนุภาคต่างกัน
1. การพับกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน
มุมมอง 2.3K3 ปีที่แล้ว
การสาธิตการพับกระดาษกรอง และกระดาษเซลโลเฟน เพื่อทดสอบความสามารถการกรองอนุภาคที่มีขนาดต่างกัน
Lab1 การชั่ง วัตถุ C ด้วยเครื่องชั่ง 2 ตำแหน่ง
มุมมอง 414 ปีที่แล้ว
Lab1 การชั่ง วัตถุ C ด้วยเครื่องชั่ง 2 ตำแหน่ง
Lab1 การชั่ง วัตถุ B ด้วยเครื่องชั่ง 2 ตำแหน่ง
มุมมอง 264 ปีที่แล้ว
Lab1 การชั่ง วัตถุ B ด้วยเครื่องชั่ง 2 ตำแหน่ง
Lab1 การชั่ง วัตถุ A ด้วยเครื่องชั่ง 2 ตำแหน่ง
มุมมอง 334 ปีที่แล้ว
Lab1 การชั่ง วัตถุ A ด้วยเครื่องชั่ง 2 ตำแหน่ง
Lab1 การชั่ง วัตถุ C ด้วยเครื่องชั่ง 4 ตำแหน่ง
มุมมอง 324 ปีที่แล้ว
Lab1 การชั่ง วัตถุ C ด้วยเครื่องชั่ง 4 ตำแหน่ง
Lab1 การชั่ง วัตถุ B ด้วยเครื่องชั่ง 4 ตำแหน่ง
มุมมอง 544 ปีที่แล้ว
Lab1 การชั่ง วัตถุ B ด้วยเครื่องชั่ง 4 ตำแหน่ง
Lab1 การชั่ง วัตถุ A ด้วยเครื่องชั่ง 4 ตำแหน่ง
มุมมอง 1004 ปีที่แล้ว
Lab1 การชั่ง วัตถุ A ด้วยเครื่องชั่ง 4 ตำแหน่ง
😴
จุดจุติของฟีนอฟทาลีน มันชมพูไป เลยแล้วครับ
คริปอธิบายละเอียดเห็นภาพชัดดเจนดีมากเลยค่ะมีประโยชน์มาก ขอบคุณนะคะ💕
ขอบคุณมากๆ ค่ะ
ขอบคุณมากนะคะ ดีมากๆค่ะ เป็นสื่อการสอนได้อย่างดี เนื่องด้วยสอนโฮมสคูลให้ลูก ไม่มีห้องแล็บให้ทดลอง ทำออกมาอีกนะคะ
0:34 หยดสารอะไรคะบอกหน่อย🥺
หยดน้ำกลั่น เพราะในการเตรียมถ้าเทจากบีกเกอร์ลงไป อาจทำให้เลยขีดปรับปริมาตร
0:28 ได้ใส่สารอะไรลงในบีกเกอร์มั้ยคะที่เป็นน้ำใสๆ
น้ำกลั่นค่ะ
ถ้าค่าคงที่ของแก๊สคลาดเคลื่อนมาจากสาเหตุใดคะ
ปกติความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นอาจมาจากตัวผู้ทดลองได้ค่ะ เช่นการอ่านค่า การทำขัดทำความสะอาดลวด Mg หรืออาจเกิดจากสภาพเครื่องมือที่ใช้
แชร์ครับ แลบเดียวกันกับที่มธ. สอนวิศวะ siit ที่ต่างคือ อันนู้นไม่ได้ให้ความร้อนต้มเพื่อให้ตะกอนใหญ่ขึ้น เลยจะกรองยากครับ อันนี้น่าสนใจ เดี๋ยวผมลองนำไปปรับดูครับ + อบสั้นกว่าของผม ของผมจะมีปัญหาเวลาเด็กทำ คือ เด็กจะเปิดๆปิดๆเตาอบทำให้มันนานกว่าจะแห้ง
ติดตามนะครับ แอด
ตามมาดูวิดิโอครับ
1
please , make your video in English. many people can not understand your language
ใช้หลอดไฟแอลอีดีได้ไหมค่ะ?
ชอบมากๆๆ
ไม่ชอบ
ก็สวยดีน่ะ
หาของใกล้ตัวได้เลยค่ะ เช่น มะนาว ส้ม มันสัมปะหลังก็ได้นะค๊ะ แต่ที่อาจจะเฉพาะหน่อยคือเครื่องวัดความต่างศักย์และขั้ว
แต่บางอันก็เตรียมง่ายนะคะ
ของน่าจะเตรียมยากนะคะ