- 125
- 89 649
ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี
เข้าร่วมเมื่อ 16 ก.ย. 2015
ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าชายเลนจากพื้นที่นากุ้งร้างแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าคลองเก่า-คลองคอย ตำบลปากน้ำปราณ อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Did you know นกกาน้ำเล็กผึ่งปีกทำไม?
หลายท่านน่าจะเคยพบเห็นนกขนาดใหญ่ ลำตัวสีดำ เกาะกางปีกอยู่นิ่งๆ ตามยอดไม้ กิ่งไม้ หรือ รากไม้ ซึ่งนกที่เราพูดถึงจะเป็นนกอะไรนะ? แล้วพฤติกรรมของเค้าทำไปเพื่ออะไร วันนี้เราจะพาไปหาคำตอบกัน
ศูนย์ฯสิรินาถราชินี เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-16.30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หมู่คณะจองรอบเข้าชมโดยมีวิทยากรบรรยายได้ในวันอังคาร,พุธ และพฤหัสบดี สอบถามรายละเอียด ..
โทรศัพท์ 032-632 255 , 086-607 7712
Facebook : sirinartcenter
IG : ptt.sirinartmangroveforest Tiktok : www.tiktok.com/@sirinartmangroveforest
Email : sirinartcenterbooking@gmail.com
Line : sirinartcenter
Line official : @700stswt
Map : maps.app.goo.gl/sH7LabxJsrmrB
ขอบคุณภาพบางส่วนจาก
ช่อง Bird NONNY และ Paladej Srisuk
ศูนย์ฯสิรินาถราชินี เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-16.30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หมู่คณะจองรอบเข้าชมโดยมีวิทยากรบรรยายได้ในวันอังคาร,พุธ และพฤหัสบดี สอบถามรายละเอียด ..
โทรศัพท์ 032-632 255 , 086-607 7712
Facebook : sirinartcenter
IG : ptt.sirinartmangroveforest Tiktok : www.tiktok.com/@sirinartmangroveforest
Email : sirinartcenterbooking@gmail.com
Line : sirinartcenter
Line official : @700stswt
Map : maps.app.goo.gl/sH7LabxJsrmrB
ขอบคุณภาพบางส่วนจาก
ช่อง Bird NONNY และ Paladej Srisuk
มุมมอง: 38
วีดีโอ
Did you know .....ปูแสมปีนต้นไม้ทำไม?
มุมมอง 195หลายเดือนก่อน
รู้หรือไม่ว่า ปูแสมนอกจากเคลื่อนที่ได้ดีบนพื้นเลน ยังสามารถปีนป่ายไปบนรากไม้ หรือต้นไม้ได้อีกด้วย.... เราไปไขปริศนาพร้อมกันเลย... มาเปิดประสบการณ์ในห้องเรียนธรรมชาติขนาดใหญ่กับป่าชายเลนปลูกศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินีได้... ศูนย์ฯสิรินาถราชินี เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-16.30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หมู่คณะจองรอบเข้าชมโดยมีวิทยากรบรรยายได้ในวันอังคาร,พุธ และพฤหัส...
Did you Know....ปลาตีนอยู่บนบกได้อย่างไร?
มุมมอง 3602 หลายเดือนก่อน
เคยสงสัยกันไหมว่า ปลาตีน.. ที่ได้ชื่อว่า "ปลา" นั้น ... อยู่บนบกได้อย่างไร? ไปไขปริศนาพร้อมๆ กันเลย มาเปิดประสบการณ์ในห้องเรียนธรรมชาติขนาดใหญ่กับป่าชายเลนปลูกศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินีได้... ศูนย์ฯสิรินาถราชินี เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-16.30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หมู่คณะจองรอบเข้าชมโดยมีวิทยากรบรรยายได้ในวันอังคาร,พุธ และพฤหัสบดี สอบถามรายละเอียด .. โทรศัพ...
Did you know....ป๊อก ป๊อกเสียงปริศนา?ในป่าชายเลน
มุมมอง 963 หลายเดือนก่อน
หากนักท่องเที่ยวท่านใดเคยเข้ามาเยี่ยมชมเส้นทางศึกษาธรรมชาติที่ศูนย์ฯสิรินาถราชินี ต้องเคยได้ยินเสียงดัง ป๊อกๆ ซึ่งเป็นเสียงปริศนาที่ดังขึ้นมาจากพื้นป่าชายเลนอย่างแน่นอน ซึ่งเสียงปริศนานี้เป็นเสียงอะไร และเกิดขึ้นได้อย่างไร วันนี้เราจะพาไปไขปริศนาเรื่องนี้กัน มาเปิดประสบการณ์ในห้องเรียนธรรมชาติขนาดใหญ่กับป่าชายเลนปลูกศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินีได้... ศูนย์ฯสิรินาถราชินี เปิ...
Did you know... รูนี้มีเจ้าของไหม?
มุมมอง 1814 หลายเดือนก่อน
ปูแสมนั้นมีพฤติกรรมการขุดรูอาศัยซึ่งส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทั้งพืชที่ระบบรากอยู่ใต้ดิน และสัตว์ที่อาศัยอยู่ในดิน เนื่องจาก รูปูจะช่วยนำอากาศลงสู่ชั้นดินที่ลึกลงไป ดังนั้น รูปูนอกจากจะเป็นแหล่งอาศัยของปูแล้ว ยังทำหน้าที่ช่วยเร่งการย่อยสลายของสารอินทรีย์ในดิน ทำให้ไม่เกิดการเน่าเหม็นของดินอีกด้วย แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่ารูนั้นมีเจ้าของหรือมีปูอยู่หรือไม่ ต้องดูยังไง ไปไขปริศนาพร้อม ๆ กันเลย.. ...
Did you know......ตามไปดู ปูก้ามดาบ นาฬิกาชีวภาพแห่งป่าชายเลน
มุมมอง 1275 หลายเดือนก่อน
ปูก้ามดาบมีฉายาว่า “นาฬิกาชีวภาพแห่งป่าชายเลน” เพราะปูก้ามดาบมีพฤติกรรมการลงรูที่สัมพันธ์กับการขึ้นลงของน้ำนั่นเอง มาเปิดประสบการณ์ในห้องเรียนธรรมชาติขนาดใหญ่กับป่าชายเลนปลูกศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินีได้... ศูนย์ฯสิรินาถราชินี เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-16.30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หมู่คณะจองรอบเข้าชมโดยมีวิทยากรบรรยายได้ในวันอังคาร,พุธ และพฤหัสบดี สอบถามรายละ...
หอย....ทำไมต้องหนีน้ำ?
มุมมอง 706 หลายเดือนก่อน
เมื่อเรามาเที่ยวป่าชายเลนในช่วงน้ำขึ้น..เราจะพบหอยฝาเดียวจำนวนมาก ปีนขึ้นมาเกาะบนต้นไม้และรากโกงกาง .. อยากรู้ว่าเพราะอะไร..ไปไขปริศนาพร้อมกันเลย? มาเปิดประสบการณ์ในห้องเรียนธรรมชาติขนาดใหญ่กับป่าชายเลนปลูกศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินีได้... ศูนย์ฯสิรินาถราชินี เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-16.30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หมู่คณะจองรอบเข้าชมโดยมีวิทยากรบรรยายได้ในวันอั...
Did you know ฝักโกงกาง ถ้าไม่ปักลงเลนจะงอกเติบโตได้ไหม?
มุมมอง 557 หลายเดือนก่อน
ฝักโกงกางถ้าตกลงปักพื้นเลนแล้วจะโตเป็นต้นใหม่ แล้วถ้าฝักโกงกางตกลงมาแล้วไม่ปักลงบนพื้นเลนล่ะจะเป็นอย่างไรนะ... มาเปิดประสบการณ์ในห้องเรียนธรรมชาติขนาดใหญ่กับป่าชายเลนปลูกศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินีได้... ศูนย์ฯสิรินาถราชินี เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-16.30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หมู่คณะจองรอบเข้าชมโดยมีวิทยากรบรรยายได้ในวันอังคาร,พุธ และพฤหัสบดี สอบถามรายละเอีย...
Did you know ต้นแสมคายเกลือได้จริงหรือ
มุมมอง 1108 หลายเดือนก่อน
รู้หรือไม่ว่า จริง ๆ แล้วนั้นพรรณไม้ป่าชายเลนทุกชนิดใช้ “น้ำจืด” ในการเจริญเติบโตเหมือนพืชทั่วไป และหากพื้นที่ใดที่น้ำมีความเค็มสูงต่อเนื่อง จะส่งผลให้พรรณไม้ชายเลนบางกลุ่มที่ทนต่อความเค็มได้น้อย เจริญเติบโตช้า หรือตายได้ ดังนั้น พรรณไม้ในป่าชายเลนแต่ละชนิด จึงต้องมีการปรับตัวให้สามารถอาศัยอยู่ในน้ำที่มีเกลือละลายอยู่ เพื่อที่จะสามารถเจริญเติบโตได้อย่างปกติ โดยแบ่งการปรับตัวของพรรณไม้ชายเลนกับค...
จุดเเรียนรู้ตัวเงินตัวทอง (Water Monitor Learning Spot)
มุมมอง 1.1K11 หลายเดือนก่อน
ชื่อไทย: ตัวเงินตัวทอง, เหี้ย ชื่อภาษาอังกฤษ: Water Monitor ชื่อวิทยาศาสตร์: Varanus salvator จุดเรียนรู้ตัวเงินตัวทอง จุดนี้นักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้และทำความรู้จักกับตัวเงินตัวทองมากขึ้น โดยลักษณะของจุดเรียนรู้จะเป็นแพไม้ไผ่ติดตั้งไว้ในที่เปิดโล่งกลางบ่อน้ำ สำหรับให้ตัวเงินตัวทองได้ขึ้นมานอนอาบแดดบนแพ เพื่อสร้างความอบอุ่นให้กับร่างกายและเร่งกระบวนการย่อยอาหาร เนื่องจากตัวเงินตัวทองเป็นสัตว์เ...
จุดชมวิวหอชะคราม (CHAKHRAM TOWER)
มุมมอง 36ปีที่แล้ว
หอชะคราม ... ชะคราม ชื่อนี้มาจากต้นชะครามนั่นเอง ส่วนหอนั้นมีการออกแบบเดินเวียนสลับ ให้คล้ายกับใบของชะครามที่เวียนสลับซ้ายขวา หอครามนั้นมีความสูง 17.45 เมตร มีบันได 97 ขั้น ระหว่างเดินหอชะครามนั้น เราจะได้เห็นและสัมผัสเรือนยอดของต้นไม้อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะต้นโกงใบเล็กและโกงใบใหญ่ มีจุดเรียนรู้นกระหว่างเดินขึ้นไปและจุดพักให้ และเมื่อถึงชั้นบนสุดนั้น เราจะได้เห็นพื้นที่ทั้งหมดของศูนย์ฯสิรินาถราชิ...
จุดเรียนรู้ลอบแบบพับ (Collapsible Crab Trap)
มุมมอง 73ปีที่แล้ว
ลอบจัดเป็นเครื่องมือประมงพื้นบ้านที่มีความเกี่ยวพันกับวิถีชีวิตคนไทยมาช้านาน ในสมัยก่อนลอบมีโครงเป็นรูปทรงต่างๆแตกต่างออกไปตามแต่ละท้องถิ่น ส่วนใหญ่โครงทำจากไม้และหุ้มด้วยวัสดุต่างๆ เช่น สานหุ้มด้วยไม้ไผ่ เถาวัลย์ หวาย หรือเส้นลวด มีช่องให้สัตว์น้ำเข้า และมีส่วนสำคัญที่เรียกว่า “งา” เป็นส่วนป้องกันไม่ให้สัตว์น้ำหนีออกไปจากลอบได้ แต่เนื่องด้วยเครื่องมือลอบในอดีตทำจากวัสดุธรรมชาติจึงมีอายุการใช้ง...
จุดเรียนรู้สารภีทะเล (Borneo-mahogany)
มุมมอง 50ปีที่แล้ว
สารภีทะเล ชื่อไทยอื่นๆ: กระทิง, กากะทิง, ทิง, เนาวกาน, สารภีแนน ชื่อวิทยาศาสตร์: Calophyllum inophyllum เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 5 - 17 เมตร ไม่ผลัดใบ เปลือกลำต้นสีน้ำตาลถึงเทาค่อนข้างเข้ม มีรอยแตกเป็นร่องลึก มียางสีขาว ใบรูปไข่ ปลายใบมนหรือเว้าเล็กน้อย ใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเป็นมัน ด้านท้องใบสีอ่อนกว่า เนื้อใบหนาลักษณะคล้ายแผ่นหนัง ออกดอกตามง่ามใบเป็นช่อสีขาว ผลรูปร่างกลม ผลอ่อนสี...
จุดเรียนรู้พังกาหัวสุมดอกแดง (Oriental Mangrove)
มุมมอง 140ปีที่แล้ว
จุดเรียนรู้พังกาหัวสุมดอกแดง (Oriental Mangrove)
ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี
มุมมอง 324ปีที่แล้ว
ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี
จุดเรียนรู้ต้นโกงกางใบใหญ่ (Loop Root Mangrove)
มุมมอง 1Kปีที่แล้ว
จุดเรียนรู้ต้นโกงกางใบใหญ่ (Loop Root Mangrove)
จุดเรียนรู้ต้นโปรงขาว (White Rounded - Leaves Mangrove)
มุมมอง 133ปีที่แล้ว
จุดเรียนรู้ต้นโปรงขาว (White Rounded - Leaves Mangrove)
จุดเรียนรู้โกงกางใบเล็ก (Tall - stilt Mangrove )
มุมมอง 431ปีที่แล้ว
จุดเรียนรู้โกงกางใบเล็ก (Tall - stilt Mangrove )
จุดไฮไลท์ที่นักท่องเที่ยวจะพบในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ (Nature Trail: “Man-made Mangrove Forest”)
มุมมอง 38ปีที่แล้ว
จุดไฮไลท์ที่นักท่องเที่ยวจะพบในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ (Nature Trail: “Man-made Mangrove Forest”)
จุดเรียนรู้ต้นเหงือกปลาหมอดอกม่วง (Holy mangrove)
มุมมอง 4.3Kปีที่แล้ว
จุดเรียนรู้ต้นเหงือกปลาหมอดอกม่วง (Holy mangrove)