- 115
- 113 763
นิวัฒน์ หล่อวนาวรรณ
เข้าร่วมเมื่อ 15 มิ.ย. 2018
ครูช่างไฟฟ้า สังกัด สอศ.ใช้ประกอบการสอน สอนรายวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง วงจรอนุกรม ขนาน ผสมวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ พื้นฐานวงจรไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า 3 เฟส กำลังไฟฟ้า เพาเวอร์แฟคเตอร์
วีดีโอ
4.พื้นฐานการต่อวงจรไฟฟ้า วงจรสวิตช์ 2 ทาง ตัว ควบคุมหลอดไส้
มุมมอง 742 หลายเดือนก่อน
4.พื้นฐานการต่อวงจรไฟฟ้า วงจรสวิตช์ 2 ทาง ตัว ควบคุมหลอดไส้
3.พื้นฐานการต่อวงจรไฟฟ้า วงจรสวิตช์ทางเดียว 2 ตัว ควบคุมหลอดไส้ 2 หลอด
มุมมอง 782 หลายเดือนก่อน
3.พื้นฐานการต่อวงจรไฟฟ้า วงจรสวิตช์ทางเดียว 2 ตัว ควบคุมหลอดไส้ 2 หลอด
การใช้งาน simurelay วงจรควบคุมสตาร์ทตรงมอเตอร์
มุมมอง 1782 หลายเดือนก่อน
การใช้งาน simurelay วงจรควบคุมสตาร์ทตรงมอเตอร์
2.พื้นฐานการต่อวงจรไฟฟ้า วงจรสวิตช์ทางเดียวควบคุมหลอดไส้ 2 หลอด
มุมมอง 312 หลายเดือนก่อน
2.พื้นฐานการต่อวงจรไฟฟ้า วงจรสวิตช์ทางเดียวควบคุมหลอดไส้ 2 หลอด
1.พื้นฐานการต่อวงจรสวิตช์ทางเดียวควบคุมหลอดไส้
มุมมอง 192 หลายเดือนก่อน
1.พื้นฐานการต่อวงจรสวิตช์ทางเดียวควบคุมหลอดไส้
การสตาร์ทตรงมอเตอร์ 3 เฟส ด้วย app simurelay
มุมมอง 913 หลายเดือนก่อน
การสตาร์ทตรงมอเตอร์ 3 เฟส ด้วย app simurelay
2.3.การวัดค่ามุมต่างเฟสด้วยออสซิโลสโคป
มุมมอง 1023 หลายเดือนก่อน
2.3.การวัดค่ามุมต่างเฟสด้วยออสซิโลสโคป
2.2การวัดค่ากระแสใช้งานด้วยออสซิโลสโคป
มุมมอง 843 หลายเดือนก่อน
2.2การวัดค่ากระแสใช้งานด้วยออสซิโลสโคป
2.1การวัดค่าแรงดันใช้งานด้วยออสซิโลสโคป
มุมมอง 1253 หลายเดือนก่อน
2.1การวัดค่าแรงดันใช้งานด้วยออสซิโลสโคป
1.2การวัดค่าแรงดันไฟสลับด้วยออสซิโลสโคป
มุมมอง 933 หลายเดือนก่อน
1.2การวัดค่าแรงดันไฟสลับด้วยออสซิโลสโคป
1.1การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงด้วยออสซิโลสโคป
มุมมอง 523 หลายเดือนก่อน
1.1การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงด้วยออสซิโลสโคป
การต่อหลอดไว้ 2 หลอด แบบอนุกรมและแบบขนาน
มุมมอง 3653 ปีที่แล้ว
การต่อหลอดไว้ 2 หลอด แบบอนุกรมและแบบขนาน
ใบงานที่ 12 การทดลองวงจร RLC อนุกรมสภาวะเรโซแนน
มุมมอง 5183 ปีที่แล้ว
ใบงานที่ 12 การทดลองวงจร RLC อนุกรมสภาวะเรโซแนน
เหตุผลที่ว่าทำไมต้องทำให้ XL เท่ากับ XC ด้วยครับ ขอบคุณครับ อ.
@@ไพโรจน์สาครพานิช สภาวะการเกิดเรโซแนนซ์ จะเกิดกับวงจร RLC ไฟสลับ และสามารถเกิดขึ้นได้ 3 กรณี ตามสูตร(XL=2x3.14xfxL,XC=1/2x3.14xfxC) 1.ปรับค่าf 2.ปรับค่าL 3.ปรับค่าC
@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับ อ.
ของผมกดเพลย์แล้วไม่มีไฟมาต้องแก้หรือตั้งค่ายังไงครับ🙏🏻
อ. ครับ วงจร R C L นำไปใช้ประโยชน์อย่างไรครับใช้กับวงจรอะไรบ้างครับ ขอบคุณครับ
@@ไพโรจน์สาครพานิช วงจรRLC. จะอยู่ภายในเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เช่นถ้าเป็นหลอดไส้ จัเป็นโหลดR. ถ้าเป็นมอเตอร์ไฟฟ้า ส่วนใหญ่จะเป็นโหลดRL และหลอดLED จะเป็นโหลดRC ประโยชน์ก็ใช้เป็นพื้นฐานต่อยอดพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆในรายวิชาไฟฟ้า การคำนวณหากระแส เลือกขนาดสายไฟและอุปกรณ์ป้องกันครับ
@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบพระคุณครับ อ.
ใช้โปรแกรมอะไรคับ
@@penchai1999 simurelay. ครับ
simurelay ครับ
ขอบคุณครับอาจารย์
สอนดีมากค่ะ
จารแดงส่งมาครับ
ขอบคุณครับผม
อาจารย์ให้โปรแกรมอะไรครับ
1.การบันทึกการสอน ใช้ OBSครับ 2.เนื้อหา ทำใน PowerPoint, . ครับ
อาจารย์ขออนุญาตสอบถามครับ 1.ถ้าเป็นวงจรอนุกรมนี่ กระแสจะสูงใช่ไหมครับอาจารย์ และ ถ้าเป็นวงจรขนานกระแส จะลดจะลดลงใช่ไหมครับ 2.ถ้าวงจรขนานกระแสลดลงนี่ มันก็จะคล้ายกับการแก้เพาเวอร์เฟคเตอร์ใช่ไหมครับ แต่นี่คือการปรับความถี่แทน ผมเข้าแบบนี่ถูกไหมครับอาจารย์
ข้อ1.ถูกต้องครับ ข้อ2. หลักการแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์ ส่วนใหญ่จะเป็นโหลด RL กระแสลดลง แรงดัน ความถี่และกำลังไฟฟ้าจริง P คงที่ ค่าตัวเก็บประจุต้องต่อขนานกับโหลด ให้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์เข้าใกล้ 1 **ส่วนการเกิดสภาวะเรโซแนนซ์ เกิดขึ้นได้ ปรับค่าได้ 3ค่า ค่าความถี่ ค่าL ค่า C เพื่อทำให้ XL=XC
ขอบคุณครับอาจารย์
อาจารย์ครับขออนุญาตสอบถามครับ นาทีที่ 52:03 เอามุมเฟสของ Z มา ทำไมไม่ติดลบครับอาจารย์มุม 53.13
มุมต่างเฟส เป็นมุมระหว่าง แรงดันและกระแสครับ ถ้านำเฟสเซอร์ไดอะแกรมของแรงดันและกระแสมาเขียน มุมของแรงดันและกระแสจะต่างกัน 53.13องศาครับ
ขอบคุณครับอาจารย์
ขอบคุณค่ะอาจารย์
สอนเข้าใจง่ายดีครับ ขอบคุณครับอาจารย์
อาจารย์ครับ นาทีที่ 23:00 ที่มาของสูตร U0=U1n+U01 มาได้ยังไงครับ และ บวกมุมเพิ่ม 180 คือยังไงเหรอครับ อาจารย์
th-cam.com/video/2qV9YxQwCiM/w-d-xo.html
มุมที่ +180 ดูคลิป นาทีที่ 1.07-1.11นาที เราจะ+180หรือ-180ก็ได้ ทีแรกหาU10 ในรู ป U01 ต้อง+180
ส่วนU0N=U1N+U01 ได้มาจากกฎแรงดันของเตอร์ชอฟฟ์ KVL
ขอบคุณครับอาจารย์
ทำไมถึงต้องใช้กระแสสมมุติแทนกระแสการไหลของอิเล็คตรอนครับอยากรู้จริงๆ
มีแบบ สวิท 4ทางไหมครับ
th-cam.com/video/RyxrTW0hiWE/w-d-xo.html
สามารถนำไปต่อยอดได้เยอะมากครับอาจารย์
ทำไมผมพึ่งเห็นคลิปนี้ สุดยอดมากครับไขกระจ่างผมเลย
ขอบคุณมากสำหรับคอมเม้นครับ กว่าจะหาคลิปนี้เจอครับ
มีลิงค์โหลดโปรแกรมไหมคะ
ิอยากใก้อาจารยสอนเหมือนปวสเลยคับ สำหรับคนไม่ได้เรียน
อันล้าหลังอันไหนนำหน้าคับ
Pure L. แรงดัน นำหน้า กระแสเป็นมุม90องศา Pure C กระแส นำหน้า แรงดัน เป็นมุม 90องศา
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณคับอาจารย์
❤️❤️❤️
เรียนถึงบทสุดท้ายของวิชานี้แล้วครับ อาจารย์สอนดีมากครับ ขอบคุณสำหรับความรู้มากๆนะครับอาจารย์🙏
นานๆๆจะมีคนสนใจ ชอบวิชาวงจรไฟฟ้า ฝึกฝนทำโจทย์วงจรไฟฟ้าเพิ่มเติมต่อยอดกันต่อไปครับ
อาจารย์ครับระหว่าง วิชา เครื่องมือวัดและวงจรไฟฟ้า กับ วิชา วงจรไฟฟ้า เรียนอันไหนก่อนอันไหนหลังครับ แนะนำหน่อยครับ th-cam.com/video/tnTkAfB4nZE/w-d-xo.html
เรียนวิชาเครื่องมือวัดและวงจรก่อนครับ เป็นวิชาปรับพื้น
ขออนุญาตสอบถามครับ อาจารย์ใช้หนังสือเล่มไหนในการเรียนการสอนวิชานี้ครับ ผมอยากซื้อมาเรียนทบทวนไปพร้อมกับอาจารย์ครับ
ทำแต่สื่อประกอบการสอน เข้าไปดูที่เพลลิสครับแล้วดูคลิปเอง เรียนระดับปวช.หรือ ปวส.ครับ
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ปวส. ครับ
ใช่เลยครับ ขอบคุณมากครับ
นาทีที่ 8.30 (1หาร3และ 1หารj4 อธิบายไม่ถูกต้อง) แก้ไข เปลี่ยน 3+j4 เป็น โพล่า 5 มุม53.13 แล้วนำ 1 มุม0 หาร 5 มุม53.13
สอบถามครับ เศษหนึ่ง ส่วน สองพาย เอฟ เอ็กซี รบกวนยกตัวอย่างกด ตัวเลขให้ดูหน่อยครับ ยังไม่ทราบว่า f เอาตัวเลขจากไหน
f คือความถี่ ประเทศไทยใช้ความถี่ 50Hz ครับ
ขอ facebook ครูหน่อยครับ
อาจารย์ครับ ถ้าเรารู้ค่ากระแสโหลด และค่ากำลังไฟฟ้าของโหลดประเภทโหลดมอเตอร์ เราสามารถคำนวณหาค่า XL ของมอเตอร์ตัวนั้นได้ไหมครับอาจารย์ เพราะนอกจากกระแสโหลดและกำลังไฟฟ้าของโหลด เรายังรู้แรงดันและรู้ความถี่ของระบบไฟฟ้าด้วย เราสามารถคำนวณหาค่า XL ของมันได้ไหมครับ ถ้าเราคำนวณหาค่า XL ของมันได้แล้ว เราจะสามารถเอาค่า XL ที่คำนวณได้ ไปคำนวณกับแรงดันของแหล่งจ่าย ที่มันเพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อหาค่ากระแสโหลดของมันได้ไหมครับ อย่างเช่นถ้าแรงดันสูงกว่า 220 โวลท์ เราเอาค่า XL ไปคำนวณกับแรงดันที่วัดได้จริงที่หน้างาน เพื่อคำนวณหาค่ากระแสโหลดได้ไหมครับ และในทางกลับกันถ้าแรงดันต่ำกว่า 220 โวลท์ เราสามารถเอาค่า XL ที่คำนวณได้ไปคำนวณกับแรงดันที่เราวัดได้จริงที่หน้างานได้ไหมครับว่ามันกินกระแสกี่แอมป์ รบกวนขอสูตรคำนวณด้วยครับอาจารย์ สูตรการคำนวณหาค่า XL ของมอเตอร์ ที่เรารู้ค่ากระแสโหลด , ค่ากำลังไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าและความถี่ไฟฟ้า ผมอยากรู้ว่าคำนวณยังไงเพื่อจะได้ค่า XL ของมอเตอร์ตัวนั้นๆ ขอบคุณมากครับอาจารย์
XLสามารถหาได้จากสูตร XL=U^2/(QL) หรือ XL=U^2/(UIsin¢)
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
ส่วนมากงานจริงแล้ว ไม่ค่อยคำนวณหาค่า XL R. XC. เท่าไรนัก เพราะ เราใช้เครื่องมือวัด วัดค่ากำลังไฟฟ้าจริง(P) แรงดัน กระแสไฟฟ้า และวัดค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ก็สามารถหาค่า กำลังไฟฟ้าทั้ง3ชนิด P,Q,S ก็นำค่ากำลังไฟฟ้าไปใช้ในการคำนวณต่อไป
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
รบกวนสอบถามอาจารย์หน่อยครับว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เขาติดฉลากเบอร์ 5 มันมีความหมายว่ายังไงบ้างครับ มันมีความหมายถึงว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวนั้นมีประสิทธิภาพสูงและมีค่า power factor สูงใช่ไหมครับอาจารย์ คือผมว่าสังคมไทยก็ยังไม่ค่อยเข้าใจนะว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ติดฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 มันแตกต่างอย่างไรกับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่มีฉลากเบอร์ 5 รบกวนอาจารย์อธิบายเรื่องนี้ด้วยนะครับ ขอบคุณอาจารย์มากๆนะครับ
labelno5.egat.co.th/new58/
รายละเอียดมันเยอะ ดูตามลิ้งเลยนะครับ
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
อาจารย์ครับ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนใหญ่ค่า power factor ของมันจะเป็นแบบลีดดิ้งใช่ไหมครับอาจารย์ อย่างเช่น ทีวี เครื่องเสียง ขอบคุณครับอาจารย์
ส่วนมาก จะเป็นโหลด leading power factor ครับ
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
ทำไมต้องคุณข้ามครับ
มันใช้อะไรในการทำงานคับ
เข้าใจมากคับ
สูตรนี้เขาเรียกว่าอะไรหรอคะ 13:11 คำนวนวงจรขนานอะค่ะ ที่เป็นของR234
สูตรนี้จะใช้หาค่าตัวต้านทานทานต่อขนานกัน 2ตัวเท่านั้น ดูคลิปวงจรขนาน เพิ่มเติมด้านล่าง นาทีที่ 17.30
th-cam.com/video/SZIMeOKBWhg/w-d-xo.html
ผมยังดูคลิปของอาจารย์ไม่ครบ ทั้งหมด แต่ผมมีข้อสงสัยที่จะถามอาจารย์ครับ อาจารย์ครับถ้าสมมุติว่า ความถี่ในระบบไฟฟ้ามันสูงขึ้น อย่างเช่น ความถี่เพิ่มขึ้นเป็น 60 Hz มันจะทำให้โหลด L มีกำลังไฟฟ้าเพิ่มขึ้นด้วยหรือเปล่าครับ ถ้าความถี่ที่เพิ่มขึ้น...แล้วมันทำให้กำลังไฟฟ้ามันเพิ่มขึ้นด้วย แล้วกำลังไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น เป็นกำลังไฟฟ้าในส่วนไหนครับ ในส่วนของ active power หรือว่า reactive power ครับ หรือว่าเพิ่มขึ้นทั้งสองส่วน ขอบคุณครับอาจารย์
ความถี่จะมีผลต่อค่า XL,XC ส่งผลให้ reactive power ส่วนRไม่มีผลต่อความถี่ ทำให้Active Power มีค่าเท่าเดิม
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ สรุปว่าความถี่ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลทำให้โหลด L reactive power เพิ่มขึ้น แต่ active power เท่าเดิม ผมสรุปแบบนี้ถูกต้องนะครับอาจารย์
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
อาจารย์ครับ แรงดันที่วัดได้จากมัลติมิเตอร์ที่เป็นแรงดัน RMS มันเป็นแรงดันซีกเดียว หรือว่าเป็นแรงดัน 2 ซีกครับ ในคลิปอาจารย์อธิบายว่า เอาตัวเลข 0.707 ไปคูณกับแรงดัน RMS ก็จะได้แรงดันสูงสุด แล้วตัวเลข 1.414 มันคือตัวเลขอะไรครับ แล้วเอาไว้คูณกับอะไรครับ คือผมหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตผมมักจะเห็นตัวเลข 1.414 อยู่เสมอเมื่อเห็นตัวเลข 0.707 แต่ผมยังไม่เข้าใจแบบกระจ่างว่าตัวเลข 1.414 เอาไว้ x กับแรงดันอะไร ขอบคุณครับอาจารย์
ดูนาที ที่ 44-46ครับ ที่มาของสูตร
ตอนนี้เรียนอยู่ที่ไหนครับ
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ เรียนอยู่โรงเรียนจันเสนเอ็งสุวรรณอนุสรณ์ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ครับอาจารย์
Um=1.414xUrms , ได้จากการ ย้ายข้างสมการ
อาจารย์ครับ เราสามารถคำนวณหาค่า power factor ของโหลดได้ไหมครับในกรณีที่เรารู้เฉพาะค่าแรงดันและค่ากระแสของโหลด ยกตัวอย่างเช่น เครื่องปรับอากาศเครื่องหนึ่งเนมเพลทมันลบเลือน มองไม่เห็นค่าอะไรที่ผู้ผลิตระบุมาเลย แต่แรงดันไฟฟ้าภายในบ้านเรือนที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศเครื่องนี้ มีแรงดันอยู่ที่ 227 V และวัดการกินกระแสของโหลดได้ 3.41 แอมป์ ถ้าเรารู้จะเฉพาะแรงดันกับกระแสแบบนี้ เราจะสามารถคำนวณหาค่า power factor ของเครื่องปรับอากาศตัวนี้ได้ไหมครับว่ามันมีค่า power factor อยู่ที่เท่าไหร่ และคำนวณหากำลังไฟฟ้าจริงได้ไหมครับ ขอสูตรการคำนวณทั้งสองอย่างนี้ด้วยครับอาจารย์ ขอบคุณอาจารย์มากครับผม !!!!
เราทราบค่าแรงดันและค่ากระแส ก็จะหากำลังไฟฟ้ารวม มีหน่วยเป็น VA (Apparent Power )
ต้องใช้เครื่องวัดเพาเวอร์แฟคเตอร์วัด ครับ ถึงจะคำนวณ ค่ากำลังไฟฟ้าทั้ง3 ได้ง่าย
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ผมรบกวนสอบถามอาจารย์เอกคำถามนะครับว่า ค่า power factor ของโหลด มันแปรผันตามแรงดันหรือเปล่าครับ หรือว่าค่า power factor ของมันคงที่ สมมุติว่าโหลดตัวนั้นมีค่า power factor ที่ 0.82 ถ้าแรงดันแหล่งจ่ายสูงขึ้นหรือลดลง โหลดตัวนี้ก็ยังคงมีค่า power factor ที่ 0.82 เท่าเดิมใช่ไหมครับอาจารย์ ขอบคุณอาจารย์ครับผม !!!!
ถูกต้องแล้วครับ เพราะ pf=P/S.
แล้วถ้าทำแบบ DASI ต้องทำแบบไหนหรอครับ
ในคลิป ใช้สัญลักษณ์ DIN ครับ ถ้าใช้ระบบ ANSI ก็เปลี่ยนสัญลักษณ์ให้เป็น ANSI การเขียนก็คล้ายกัน
อาจารย์ครับผมมีข้อสงสัยเกี่ยวกับมาตรวัดหรือมิเตอร์ไฟฟ้า มาตรวัดหรือมิเตอร์ไฟฟ้าใช้วัดกำลังไฟฟ้าต่อ 1 ชั่วโมง หรือที่เรียกว่ากิโลวัตต์/ชั่วโมง ก็ในเมื่อมิเตอร์ไฟฟ้าหรือมาตรวัด มันวัดกำลังไฟฟ้า แล้วการแก้ค่า power factor ของโหลดหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า แล้วมันจะช่วยประหยัดไฟในแง่ไหนครับ ก็ในเมื่อการแก้ค่า power factor ของโหลดหรือของเครื่องใช้ไฟฟ้าทำให้กำลังไฟฟ้าคงที่ แต่สิ่งที่ลดลงคือกระแสไฟฟ้า แล้วมันจะช่วยให้ประหยัดไฟได้ยังไงครับ ก็ในเมื่อกำลังไฟฟ้ามายังเท่าเดิม มาตรวัดของมิเตอร์ไฟฟ้ามันก็ต้องขึ้นจำนวนหน่วยเท่าเดิมใช่ไหมครับอาจารย์ ผมมีข้อสงสัยในประเด็นนี้มากๆครับ ผมรบกวนอาจารย์ช่วยตอบคำถามนี้ให้ด้วยครับ ผมติดตามหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องไฟฟ้าใน TH-cam มาหลายปี ผมพึ่งจะมาเจออาจารย์นี่หรอครับอธิบายได้ละเอียด ช่อง TH-cam ช่องอื่นๆเวลาเขาอธิบายในคลิป เขาชอบโดดข้าม และอธิบายไม่ละเอียด โดยเฉพาะตัวเลขเกี่ยวกับสูตรคำนวณต่างๆ หรือตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า ในหลายคลิปไม่ได้อธิบายที่ไปที่มาของตัวเลข อยู่ดีๆก็ไปหยิบเอาตัวเลขขึ้นมาเลย ดูแล้วงงมากว่าตัวเลขมันมาจากไหน แต่อาจารย์อธิบายได้ละเอียด และอธิบายที่ไปที่มาได้ชัดเจนด้วยครับ ขอบคุณอาจารย์มากนะครับที่ให้ความรู้
เข้าใจถูกต้องแล้วครับ การแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์ ไม่สามารถลดค่าไฟฟ้าตามบ้านพักอาศัยได้ เพราะค่าไฟคิดจากสูตร กำลังไฟฟ้าxเวลา แต่จะค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์มีผลต่อค่าไฟ การใช้ไฟในโรงงานอุตสาหกรรม ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ต้องประมาณ 0.8 ถ้าเพาเวอร์แฟคเตอร์ต่ำกว่า0.8กระแสก็จะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ทางการไฟฟ้าได้ออกแบบระบบการป้องกัน เช่นฟิวส์ ขนาดสาย ทำให้เสียค่าไฟ้าเพิ่มขึ้น
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ถ้าเราไปแก้ค่า power factor ของเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านเรือนของเรา สิ่งที่มันจะลดลงก็คือกระแสไฟฟ้า ก็คือทำให้โหลดกินกระแสไฟฟ้าลดลง กระแสไฟฟ้าในระบบหรือในวงจรต่างๆที่ต่อโหลดอยู่...ก็จะลดลง ก็จะเป็นผลดีจะพอกับสายไฟและอุปกรณ์ป้องกันต่างๆ ที่รับภาระในการรองรับกระแสลดลง แต่ไม่ได้ช่วยทำให้เราประหยัดค่าไฟเพิ่มขึ้น เพราะสิ่งที่มันลดลงคือกระแส...ไม่ใช่กำลังไฟฟ้า เมื่อกระแสไฟฟ้ามันลดลง แต่กำลังไฟฟ้ายังเท่าเดิม เราจึงต้องจ่ายค่าไฟเท่าเดิม ผมเข้าใจถูกต้องใช่ไหมครับอาจารย์
@@ช่างไฟไทยแลนด์1985 ถูกต้องครับ
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณมากครับอาจารย์ ผมนั่งดูคลิปของอาจารย์หลายคลิป ทำให้ผมมีความรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้นเยอะเลยครับ ขอบคุณอาจารย์มากๆครับผม
ทำไมคลิปการทดลองจบแค่นี้ครับอาจารย์ มีคลิปต่อไหมครับอาจารย์ ผมอยากรู้ผลการทดลอง ผมสนใจการทดลองนี้มากๆ
th-cam.com/video/0QrB7hc-4Lo/w-d-xo.html
ตอนนี้เรียนที่ไหนครับ
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ เรียนสายสามัญอยู่อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ครับ กำลังจะหันไปทางอาชีวะครับ
อาจารย์ครับ กำลังไฟฟ้าที่วัดได้จากการทดลองในคลิปนี้ ทำไมมันไม่ตรงกับกำลังไฟฟ้าที่ระบุมาในเนมเพลทครับ หรือว่ามันเกี่ยวกับแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลด แรงดันไฟฟ้าไม่ได้ 220 โวลต์พอดีเป๊ะ ก็เลยส่งผลทำให้กำลังไฟฟ้าที่วัดได้จริงจากการทดลองไม่ตรงกับกำลังไฟฟ้าที่ระบุมาในเนมเพลทใช่ไหมครับ แรงดันไฟฟ้าส่งผลกับกำลังไฟฟ้าด้วยใช่ไหมครับอาจารย์
เข้าใจถูกต้องแล้วครับ กำลังไฟฟ้าอ่านไม่ตรงกับเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นแบบอนาลอค(ชนิดเข็ม)มีค่าผิดพลาด และเครื่องใช้ไฟฟ้าก็เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าเก๋าประสิทธิภาพก็ลดลงตาม
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์
อาจารย์ครับ สามารถแก้ค่า power factor ให้มันสูงขึ้นกว่านี้อีกได้ไหมครับ
ค่าเพาแฟคเตอร์ สูงสุดมีค่าเท่ากับ1ครับ ตามตัวอย่าง ได้ค่า C มาจากการคำนวณ แล้วนำไปต่อขนานกับโหลด ครับ
ถ้าใส่ C มากเกินจะทำให้ กระแสเพิ่มขึ้น ไม่ตรงตามจุดมุ่งหมายของการแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์ครับ
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ ขอบคุณครับอาจารย์ ผมรบกวนสอบถามเพิ่มเติมอีกสักหน่อยครับอาจารย์ ผมเคยได้ยินช่างไฟฟ้าหลายคนบอกว่ากำลังไฟฟ้าคงที่ แต่แอมป์จะไม่เท่าเดิมถ้าแรงดันเปลี่ยนแปลงไป คำพูดแบบนี้ถูกต้องหรือเปล่าครับอาจารย์ ผมว่าถ้าแรงดันเปลี่ยนแปลงไป กำลังไฟฟ้าไม่น่าจะคงที่นะครับอาจารย์ ตามความเข้าใจของผมนะครับ แต่ผมต้องขอบอกก่อนนะครับว่าผมไม่ได้จบทางด้านไฟฟ้า ผมเรียนมาทางสายสามัญครับอาจารย์ ยกตัวอย่างเช่น พัดลมตัวหนึ่ง ผู้ผลิตระบุกำลังไฟฟ้ามาที่ 39 วัตต์ ระบุแรงดันไฟฟ้ามาที่ 220 โวลต์ความถี่ 50 เฮิร์ท แต่ถ้าเอาพัดลมตัวนี้ไปใช้งานกับแรงดัน 230 โวลต์ กำลังไฟฟ้ามันจะอยู่ที่ 39 วัตต์เท่าเดิมไหมครับอาจารย์ แล้วพัดลมตัวนี้มันจะกินกระแสเพิ่มขึ้นหรือว่ากินกระแสลดลงครับ เพราะแรงดันไม่ใช่ 220 โวลต์ตามที่ผู้ผลิตบอกมา อีกคำถามนึงครับอาจารย์ โหลด R ประเภทหม้อหุงข้าวไฟฟ้า กระทะไฟฟ้าและเตารีด ถ้าแรงดันสูงขึ้น มันจะกินกระแสเพิ่มขึ้นหรือว่ากินกระแสลดลงครับอาจารย์ แล้วถ้าแรงดันมันลดลงมันจะกินกระแสเพิ่มขึ้นหรือว่ากินกระแสลดลงครับอาจารย์ แล้วโหลด L ประเภทมอเตอร์ต่างๆรวมทั้งพัดลมที่ผมยกมาเป็นตัวอย่างด้วย ถ้าแรงดันมันเพิ่มขึ้น โหลด L มันจะกินกระแสเพิ่มขึ้นหรือว่ากินกระแสลดลงครับอาจารย์ แล้วถ้าแรงดันมันลดลง โหลด L มันจะกินกระแสเพิ่มขึ้นหรือว่ากินกระแสลดลงครับอาจารย์ ขอบคุณครับอาจารย์ รบกวนสอบถามเท่านี้ก่อนครับ คำถามเหล่านี้ผมสงสัยมานานแล้วครับ ไปหาข้อมูลตามอินเตอร์เน็ตและหาข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆอย่างเช่น TH-cam หรือ social ต่างๆ มันก็ยังได้คำตอบไม่ชัดเจนครับอาจารย์ รบกวนสอบถามอาจารย์ด้วยนะครับ
ถ้ามีตัวต้านทาน1ตัวไม่รู้ค่าจะทำไง
การแก้สมการที่ไม่ทราบค่า ตัวแปร I1,I2,I3,RT,และRไม่รู้ค่าอีก ถือว่าแก้สมการโจทย์แบบนี้แก้สมการได้ยาก
มีโจทย์ให้ดูหรือเปล่าครับ
@@นิวัฒน์หล่อวนาวรรณ แหล่งจ่าย24v กระแส0.23แอมป์ rตัวที่1ไม่ทราบค่าrตัวที่สองได้แรงดันตกค่อม3.12v10kโอห์มโหลด24v0.23แอมป์ ถ้าอาจารย์มีเฟสจะส่งแปลนให้ครับ
ส่งมาที่ เฟส Gus Mo
ได้ประโยชน์มากค่ะ ขอบคุณนะคะ
หาI2ล่ะครับ
ยุบR1,R3ก่อน ให้เหลือ ตัวต้านทาน2ตัวต่อขนานกัน
ใช้โปรแกรมอะไร วาดรูปครับ ดีมากครับ
VISIO ครับ