Chemistry and ME (อ.วลัยพร)
Chemistry and ME (อ.วลัยพร)
  • 93
  • 83 774
เคมีทั่วไป 2 : Ep 7.4 อนุพันธ์ของไฮโดรคาร์บอน
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
อนุพันธ์ของไฮโดรคาร์บอน หมู่ฟังก์ชัน
โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ
ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
มุมมอง: 334

วีดีโอ

เคมีทั่วไป 2 : Ep 7.3 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
มุมมอง 251ปีที่แล้ว
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) สารประกอบไฮโดรคาร์บอน โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 7.5 พอลิเมอร์
มุมมอง 184ปีที่แล้ว
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) พอลิเมอร์ โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 7.2 การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์
มุมมอง 285ปีที่แล้ว
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 7.1 สารประกอบอินทรีย์ สูตรโครงสร้างและไอโซเมอร์
มุมมอง 350ปีที่แล้ว
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) สารประกอบอินทรีย์ สูตรโครงสร้างและไอโซเมอร์ โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 6.5 ประโยชน์และผลกระทบของกัมมันตรังสี
มุมมอง 168ปีที่แล้ว
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry) ประโยชน์และผลกระทบของกัมมันตรังสี โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 6.4 การแปลงนิวเคลียส และปฏิกิริยานิวเคลียร์
มุมมอง 321ปีที่แล้ว
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry) การแปลงนิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียร์ โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 6.2 เสถียรภาพของนิวเคลียส
มุมมอง 332ปีที่แล้ว
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry) นิวเคลียส เสถียรภาพของนิวเคลียส โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 6.3 กัมมันตรังสีในธรรมชาติและจลนศาสตร์การสลายตัว
มุมมอง 290ปีที่แล้ว
ขอแก้ไขโจทย์ น้ำหนัก Pb 3.225 g และ แก้ไขนาทีที่ 40.15 จำนวน Pb ที่เกิดขึ้นเป็น 3.225 g/206 g/mol = 0.0158 mol เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry) กัมมันตรังสีในธรรมชาติ จลนศาสตร์การสลายตัว ครึ่งชีวิต โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 6.1 นิวเคลียสและกระบวนการสลายตัวของนิวเคลียส
มุมมอง 339ปีที่แล้ว
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry) นิวเคลียส นิวคลีออน ไอโซโทป กระบวนการสลายตัวของนิวเคลียส (Decay process) โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.8 ประโยชน์ของอิเล็กโตรลิซิสและกฎฟาราเดย์
มุมมอง 245ปีที่แล้ว
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry) อิเล็กโตรลิซิส (Electrolysis) กฎฟาราเดย์ (Faraday's law) โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.5 สมการเนินสท์
มุมมอง 477ปีที่แล้ว
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry) สมการเนินสท์ เซลล์ความเข้มข้น โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.7 อิเล็กโตรลิซิส
มุมมอง 280ปีที่แล้ว
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry) อิเล็กโตรลิซิส (Electrolysis) โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.6 ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก
มุมมอง 432ปีที่แล้ว
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry) เซลล์กัลวานิก เซลล์ถ่านไฟฉาย แบตารี่ เซลล์เชื้อเพลิง การกัดกร่อน โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.4 ศักย์ไฟฟ้ารีดักซันมาตรฐานและแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์
มุมมอง 365ปีที่แล้ว
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry) ศักย์ไฟฟ้ารีดักซันมาตรฐาน แรงเคลื่อนไฟฟ้า โดย รศ.ดร.วลัยพร ปฤษณารุณ เอื้อใจ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.3 เซลล์กัลวานิก
มุมมอง 437ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.3 เซลล์กัลวานิก
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.2 การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์
มุมมอง 474ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.2 การดุลปฏิกิริยารีดอกซ์
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.1 ปฏิกิริยารีดอกซ์
มุมมอง 642ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 5.1 ปฏิกิริยารีดอกซ์
ปฏิบัติการเคมีประยุกต์ - แนะนำข้อปฏิบัติในห้อง Lab
มุมมอง 901ปีที่แล้ว
ปฏิบัติการเคมีประยุกต์ - แนะนำข้อปฏิบัติในห้อง Lab
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.7 การไทเทรตของกรด-เบส
มุมมอง 388ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.7 การไทเทรตของกรด-เบส
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.6 บัฟเฟอร์
มุมมอง 451ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.6 บัฟเฟอร์
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.8 สมดุลของเกลือที่ละลายได้น้อย
มุมมอง 443ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.8 สมดุลของเกลือที่ละลายได้น้อย
เคมีทั่วไป 2 : Ep 3.4 หลักของเลอชาเตอริเยร์
มุมมอง 696ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 3.4 หลักของเลอชาเตอริเยร์
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.5 เกลือและไฮโดรไลซิส
มุมมอง 463ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.5 เกลือและไฮโดรไลซิส
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.1 นิยามกรด-เบส
มุมมอง 622ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.1 นิยามกรด-เบส
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.2 มาตราส่วน pH , pOH
มุมมอง 440ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.2 มาตราส่วน pH , pOH
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.4 ความแรงของกรด-เบส
มุมมอง 1.2Kปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.4 ความแรงของกรด-เบส
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.3 กรดอ่อน เบสอ่อน
มุมมอง 473ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 4.3 กรดอ่อน เบสอ่อน
เคมีทั่วไป 2 : Ep 3.1 ลักษณะของสภาวะสมดุล
มุมมอง 691ปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 3.1 ลักษณะของสภาวะสมดุล
เคมีทั่วไป 2 : Ep 3.3 การคำนวณค่าคงที่สมดุลและความเข้มข้นของสาร ณ สภาวะสมดุล
มุมมอง 1Kปีที่แล้ว
เคมีทั่วไป 2 : Ep 3.3 การคำนวณค่าคงที่สมดุลและความเข้มข้นของสาร ณ สภาวะสมดุล

ความคิดเห็น

  • @winsurf1869
    @winsurf1869 6 วันที่ผ่านมา

    ขอบคุณมากครับอาจาร์ยผมเรียนอยู่ที่บางมดเรียนที่ มไม่ค่อยรู้เรื่อง เลยมาดูคลิปอาจาร์ยเอาไปใช้สอบ3โมดูลเก็บAเกือบหมดเลยครับ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 6 วันที่ผ่านมา

      @@winsurf1869 ยินดี และดีใจมากที่ได้ประโยชน์นะคะ 😀

  • @โชคช์องค์ศิริวิทยา
    @โชคช์องค์ศิริวิทยา หลายเดือนก่อน

    อาจารครับตรง9:31NH4+ทำหน้าที่เป็นเบสแต่ทำไมจ่ายโปรตรอนครับ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 หลายเดือนก่อน

      นาทีที่ 9.31 ในคลิปครูพูดผิดนะคะ ขออภัย NH4+ เป็นกรดค่ะ จึงให้ H+ แก่ H2O และกลายเป็น NH3 ขอบคุณที่ถามมาค่ะจะได้แก้ไขไว้ใต้คลิป

    • @โชคช์องค์ศิริวิทยา
      @โชคช์องค์ศิริวิทยา หลายเดือนก่อน

      @@ArtyOJsm43ผมดูคลิปอาจารมาหลายคลิปละครับมีประโยชน์มากๆ ขอบคุณมากครับ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 หลายเดือนก่อน

      @@โชคช์องค์ศิริวิทยา ยินดีค่ะ

  • @ArtyOJsm43
    @ArtyOJsm43 หลายเดือนก่อน

    ขอแก้ไขโจทย์ น้ำหนัก Pb 3.225 g และแก้ไขนาทีที่ 40.15 จำนวน Pb ที่เกิดขึ้นเป็น 3.225 g/206 g/mol = 0.0158 mol

  • @kumpai3972
    @kumpai3972 หลายเดือนก่อน

    สวัสดีครับอาจารย์ ผมชอบแนวการสอนและการอธิบายของอาจารย์มากครับ ไม่ทราบว่าสามารถขอสไลด์ประกอบการสอนเพื่อที่ผมจะได้ไว้ทบทวนก่อนสอบได้ไหมครับ ปล.ผมกำลังเรียนปี 1 ของมหิดล แล้วเรียนเรื่องนี้พอดีครับ ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 หลายเดือนก่อน

      ที่อีเมลมาใช่มั้ยคะ ส่งให้ทางอีเมลแล้วค่ะ ดีใจที่มีประโยชน์นะคะ

  • @Boombaemomo
    @Boombaemomo หลายเดือนก่อน

    สอนดีมากครับ จากวิศวะจุฬา

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 หลายเดือนก่อน

      @@Boombaemomo ขอบคุณค่ะ ดีใจที่มีประโยชน์นะคะ

  • @bonitalucky623
    @bonitalucky623 2 หลายเดือนก่อน

    ขอโทษนะคะอันนี้มีชีทมั้ยคะ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 2 หลายเดือนก่อน

      ไม่ทราบเป็นนักเรียนหรือคุณครูคะ ทิ้งอีเมลไว้นะคะ เดี๋ยวจะส่งให้ค่ะ

  • @วันเพ็ญมาสังข์
    @วันเพ็ญมาสังข์ 2 หลายเดือนก่อน

    สอนดีมากๆเลยค่ะ ทำต่อไปนะคะ

  • @luosylej
    @luosylej 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครูมากๆนะคะหนูเรียนอยู่จภ.ชล กำลังจะสอบไฟนอล มีประโยชน์มาก ๆ ค่ะ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 3 หลายเดือนก่อน

      @@luosylej ยินดีค่ะ สู้ๆนะคะ

  • @aokair1995
    @aokair1995 4 หลายเดือนก่อน

    มีคลิปที่แสดงตัวอย่าง+-*/ วิธีทำและคำตอบไหมครับ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 4 หลายเดือนก่อน

      หมายถึงการคูณหารเลขนัยสำคัญรึเปล่าคะ th-cam.com/video/x8huOB_xqRQ/w-d-xo.htmlsi=jRlFwTtMhgyKgHMv

  • @SettawatUdom
    @SettawatUdom 5 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณอาจารย์มากๆ ครับ อาจารย์สอนดีมากๆ ผมผู้ซึ่งไม่มีความรู้ด้านเคมีเลย แต่สนใจอยากเรียนรู้ วีดีโอของอาจารย์ดีมากๆ ครับ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 5 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากๆ ค่ะ

  • @ChiwanonPhabthaisong
    @ChiwanonPhabthaisong 5 หลายเดือนก่อน

    ดูตั้งแต่เคมี1ตอนนี้จะสอบแมททีแล้วครับ😂

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 5 หลายเดือนก่อน

      โชคดีในการสอบนะคะ ✌️

  • @Kmeptoon
    @Kmeptoon 6 หลายเดือนก่อน

    สอนดีมากๆเลยครับ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 6 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 6 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์คะ ถามค่ะ การเตรียมสารละลายจากสารตั้งต้นเป็นของเหลว อาจารย์มีvdo สอนไหมคะ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 5 หลายเดือนก่อน

      ไม่มีค่ะ

  • @microbiology1881
    @microbiology1881 7 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์สอนเข้าใจกว่าครูที่โรงเรียนอีกครับ🙏🏻

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 7 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณค่ะ 😊

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 8 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์คะ อาจารย์เขียนหนังสือคู่มือการทำแลปเทคนิคต่าง และคู่มือเคมี ไหมคะ หาซื้อได้ที่ไหนคะมีebook ขอบคุณคะ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 8 หลายเดือนก่อน

      ไม่มีค่ะ มีแต่ตำราเคมีทั่วไป มีในห้องสมุดค่ะ

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 8 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์คะ ขอบสอบถามเทคนิดแลปคะ เมื่อเราจะละลายสารที่เป็นผงกับ น้ำกลั่น คือ เอาน้ำใส่สาร หรือ สารใส่ลงในน้ำคะ ขอบคุณคะ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 8 หลายเดือนก่อน

      ถ้าผงของแข็งปริมาณไม่เยอะ เป็นสารทั่วไปที่ละลายน้ำได้ และไม่ได้ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ นิยมเทน้ำลงในภาชนะที่บรรจุผงนั้นค่ะ ต่างกับพวกกรดเข้มข้นนะคะ อันนั้นถ้าจะเจือจางกรด ต้องเทกรดลงในน้ำค่ะ

    • @plantinpot5712
      @plantinpot5712 8 หลายเดือนก่อน

      @@ArtyOJsm43 ขอบพระคุณมากคะ อาจารย์ มีอีกคำถามว่าเราจะรู้ได้อย่างไรว่าผงนั้นละลายในน้ำคะ ขอบคุณมากคะ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 8 หลายเดือนก่อน

      @@plantinpot5712ถ้าเป็นพวกเกลือส่วนใหญ่ละลายน้ำ ยกเว้นบางตัวที่ละลายได้น้อย ( ดูจากค่า Ksp ก็ได้ ) หรือถ้าเป็นของแข็งอื่นๆ สามารถเช็คได้จาก ขีดการละลายได้ ใน datasheet ของสารนั้นๆ ค่ะ ถ้ายังไม่เข้าใจ ไว้แวะมาคุยกันนะคะ

  • @FNS_chn
    @FNS_chn 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ

  • @eyip38
    @eyip38 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากคะ

  • @ThanaboonOnngam-g1b
    @ThanaboonOnngam-g1b ปีที่แล้ว

    อาจารย์สอนดีมากครับ

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 ปีที่แล้ว

    อาจารย์คะ แล้วเราจะรู้อย่างไรว่าจะเลือกใช้ บัฟเฟอร์เบส หรือบัฟเฟอร์กรด ขอบคุณคะ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 ปีที่แล้ว

      ขึ้นอยู่กับต้องการควบคุมให้ปฏิกิริยามี pH คงที่เท่าใดค่ะ ถ้าต้องการ pH ต่ำกว่า 7 เลือกใช้ buffer กรด ถ้า pH มากกว่า 7 เลือกใช้ buffer base สำหรับการเตรียม buffer ให้ได้ pH ตามต้องการอยู่นาทีที่ 16 ค่ะ

    • @plantinpot5712
      @plantinpot5712 ปีที่แล้ว

      @@ArtyOJsm43 ขอบคุณคะอาจารย์ กำลังดูคลิป

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 ปีที่แล้ว

    กำลังรอเลยคะ อาจารย์ ขอบคุณคะ❤

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 ปีที่แล้ว

      กำลังทยอย upload จนครบทุกเรื่องของเทอม 2 นะคะ

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 ปีที่แล้ว

    อาจารย์อธิบายเข้าใจง่ายมาก step by step ขอบคุณมากคะ❤

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 ปีที่แล้ว

    อาจารย์คะ บทไหนสอน beer lambert law ค่ะ ขอบคุณมาก คลิปอาจารย์เข้าใจง่ายมาก ตอนเรียนในห้องครูสอนงงมากเลยต้องมาหาคลิปอาจารย์ย้อนดู ❤

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 ปีที่แล้ว

      Beer Lambert Law น่าจะเป็นเนื้อหาตอนปี 2-3 ตอนเรียนวิชา Analytical chemistry และ Analytical instrument นะคะ เกี่ยวกับการดูดกลืนแสงและความเข้มข้นของสารละลาย

  • @this_that_thoseee
    @this_that_thoseee ปีที่แล้ว

    ขอบคุณที่ทำคลิปขึ้นมานะคะ อาจารย์สอนเข้าใจง่ายมากๆเลยค่ะ🙇🏻‍♀️

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 ปีที่แล้ว

      ยินดีค่ะ

  • @pongpanphompadit5456
    @pongpanphompadit5456 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @pat_kerdchan1456
    @pat_kerdchan1456 ปีที่แล้ว

    สอนเข้าใจมากค่ะ

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณคะ อาจารย์

  • @plantinpot5712
    @plantinpot5712 ปีที่แล้ว

    อาจารย์สอนเข้าใจมากๆขอบคุณมากคะ

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณค่ะ

  • @นฤมลทองสวัสดิ์-ฬ1ส

    ดีมากเลยค่ะ เวลาเรียนที่มหาลัยไม่ค่อยเข้าใจมาดูคลิป ทำให้เข้าใจมากขึ้นค่ะ ทำเลื่อยๆนะคะเป็นกำลังใจให้ค่าาา🎉🎉🎉❤❤

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณค่ะ

  • @anyakho7055
    @anyakho7055 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะะ❤

  • @pat_kerdchan1456
    @pat_kerdchan1456 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ

  • @pephatt7328
    @pephatt7328 ปีที่แล้ว

    อธิบายเข้าใจมากๆเลยค่าาา😍

    • @ArtyOJsm43
      @ArtyOJsm43 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณค่ะ